พฤติกรรมการทำงาน

พฤติกรรมในองค์การ
การศึกษาพฤติกรรมองค์การก็คือการศึกษาพฤติกรรมต่างๆในองค์การ 3 ระดับคือ

1 พฤติกรรมบุคคล
มีองค์ประกอบหลายอย่างซึ่งจะแบ่งได้เป็น 4 องค์ประกอบคือ

1.การรับรู้

2.ทัศนคติ

3.ค่านิยม

4.การจูงใจ

2 พฤติกรรมกลุ่ม
พฤติกรรมที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคล 2 บุคคล หรือระหว่างบุคคลกับกลุ่มจะมีผล เนื่องมาจากองค์ประกอบหลายอย่างในตัวบุคคล

3 พฤติกรรมองค์การ
จะแสดงถึงอิทธิพลขององค์ประกอบต่างๆในองค์การ พฤติกรรมในระดับนี้ได้รับอิทธิพลส่วนใหญ่จากบุคคล

ความพึงพอใจในการทำงาน
ในการบริหารงานจำเป็นจะต้องศึกษาให้เข้าใจเพราะความพึงพอใจในการทำงาน เป็นกระบวนการทางจิตวิทยาที่ไม่สามารถมองเห็นและสังเกตได้ เพียงอาศัยการคาดคะเนและสังเกตพฤติกรรมเท่านั้น

ความสำคัญของความพึงพอใจในการทำงาน

1 เสริมสร้างบรรยากาศและความตั้งใจในการทำงาน

2 เสริมสร้างความเป็นอิสระในการทำงาน

3 ส่งเสริมการบริหารแบบประชาธิปไตย

4 ส่งเสริมประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

งานวิจัยเกี่ยวกับความพึงพอใจในการทำงาน

1 แรงจูงใจภายในของบุคคล

2 ความเป็นอิสระ และการให้การยอมรับในบทบาทหน้าที่

3 การบังคับบัญชา และการบริหารแบบประชาธิปไตย

4 บรรยากาศการทำงานขององค์การ และสภาพแวดล้อมการทำงาน

การสำรวจเพื่อการวินิจฉัยงาน

1 สถานภาพทางจิตวิทยา
-ประสบการณ์ด้านการมีความหมายของงาน-ประสบการณ์ด้านความรับผิดชอบของงาน
-การรู้ผลการกระทำ

2 คุณลักษณะเฉพาะของงาน
- ทักษะของงาน
-ลักษณะเฉพาะของงาน

-ความสำคัญของงาน

-ความเป็นอิสระ

-ข้อมูลป้อนกลับ

วิธีการเพิ่มปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน

1 วิธีการบริหารแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Managerial Approsch

2 วิธีการมนุษย์สัมพันธ์ (Human Relation Approach)

3 วิธีการบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human Resources Management)

องค์ประกอบที่มีผลต่อความพึงพอใจในการทำงาน

1 งาน (Job)

2 ค่าจ้าง (Wage)

3 โอกาสที่ได้เลื่อนตำแหน่ง (Promotion)

4 การยอมรับ(Recognition)

5 สภาพการทำงาน (Working Condition)

6 ผลประโยชน์ (Benefif)

7 หัวหน้างานหรือผู้บังคับบัญชา (Leader)

8 เพื่อนร่วมงาน(Co-Workers)

9องค์การและการจัดการ (Organization and Management)