ความหมายของจิตวิทยา
เป็นการศึกษาพฤติกรรมและ
กระบวนการทางจิตด้วยวิธีการ
ทางวิทยาศาสตร์
พฤติกรรม
การแสดงออกหรือการตอบสนองของสิ่งมีชีวิตที่่สามารถสังเกตเห็นได้
พฤติกรรมภายนอก
พฤติกรรมชนิดโมล่าร์
พฤติกรรมชนิดโมเลกุล
พฤติกรรมภายใน
พฤติกรรมภายในเป็นตัวกำหนดการแสดงออกของพฤติกรรมภายนอก
กระบวนการทางจิต
ประสบการณ์ภายในส่วนบุคคล ไม่อาจสังเกตเห็นได้โดยตรง เช่น ความคิด ความรู้สึก จินตนาการ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
อธิบายโดยใช้น้ำหนักกับข้อเท็จจริงที่วัดได้สังเกตได้มากกว่าอธิบายบนพื้นฐานของความคิดเห็นหรือหลักการความเชื่อ
จิตวิทยากับชีวิตประจำวัน
ความสำคัญ
1. ช่วยให้เกิดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์
2. ช่วยในการปรับตัวและแก้ปัญหาทางจิตใจของตนเอง
3. ช่วยให้เกิดการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและผู้อื่นได้ดีขึ้น
ลักษณะผู้ที่ใช้จิตวิทยา
1. สนใจและเข้าใจในความคิด ความรู้สึกของคนรอบข้าง
2. รับรู้และสามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้อื่นได้ดี
3. รู้ เข้าใจศักยภาพและส่งเสริมความรู้ความสามารถของผู้อื่นได้อย่างถูกทาง
4. มีความจริงใจต่อกัน เพราะความจริงใจเป็นรากฐานของความผูกพันที่ลึกซึ้ง
ประโยชน์ของวิชาจิตวิทยา
1. ช่วยให้เกิดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์
2. ช่วยในการปรับตัวและแก้ปัญหาทางจิตใจของตนเอง
3. ช่วยให้เกิดการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและผู้อื่นได้ดีขึ้น
4. ช่วยให้วางโครงการสำหรับอาชีพได้อย่างเหมาะสม
ความสำคัญของจิตวิทยา
1. ด้านความเข้าใจต่อตนเอง
2. ด้านความเข้าใจต่อผู้อื่น
3. ด้านความเข้าใจต่อสังคม
4. ด้านการแก้ปัญหาพฤติกรรมและปัญหาสังคม
5. ด้านการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิต
ขอบข่ายของจิตวิทยา
จิตวิทยาคลินิค
จิตวิทยาการปรึกษา
จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ
จิตวิทยาการศึกษา
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาสังคม
จิตวิทยาการทดลอง
ประวัติความเป็นมาของจิตวิทยา
จิตวิทยาเป็นวิชาที่กำเนิดมานานแล้วตั้งแต่สมัยของเพลโต กับอริสโตเติล (Aristotle) แต่ในระยะเริ่มแรกนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของวิชาปรัชญา ซึ่งเป็นการพยายามหาคำตอบเกี่ยวกับวิญญาณโดยใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลของตนผสมผสานกับความเชื่อทางศาสนา
รากฐานแนวคิดทางจิตวิทยา
รากฐานทางปรัชญา
รากฐานทางวิทยาศาสตร์
กลุ่มจิตวิทยา
กลุ่มโครงสร้างนิยม
ห้องปฏิบัติการทดลองทางจิตวิทยาห้องแรก ถูกสร้างขึ้นโดย Wilhelm Wundt ''บิดาแห่งจิตวิทยาการทดลอง'' ในปี ค.ศ. 1879 ที่เมืองไลป์ซิก ประเทศเยอรมนี
กลุ่มหน้าที่นิยม
ในปีค.ศ. 1890 ได้มีการจัดตั้งกลุ่มจิตวิทยาขึ้นใหม่ โดยจอห์น ดิวอี้และวิลเลียม เจมส์
กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ในช่วงต้นศตวรรษที่20 ได้มีการจัดตั้งกลุ่มโดย จอห์น บี วัตสัน ''บิดาแห่งพฤติกรรมศาสตร์”
กลุ่ม Psychometrics
ได้มีการจัดตั้งกลุ่มโดย ทีออเดอร์ ไซมอน
กลุ่มจิตวิเคราะห์และกลุ่มมนุษย์นิยม
ในปี ค.ศ. 1890 ได้มีการจัดตั้งกลุ่มโดย ซิกมันด์ ฟรอยด์
กลุ่มทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
ได้มีการจัดตั้งกลุ่มโดย คาร์ล โรเจอร์
กลุ่มจิตประสาทวิทยา
ได้มีการจัดตั้งกลุ่มโดย ซานเดียโก รามอน อีกาฮาล นักประสาทวิทยาผู้ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจให้กับกลุ่มจิตประสาทวิทยามาจนปัจจุบัน
พัฒนาการของจิตวิทยา
วิญญาณ
จิตใจ
จิตสำนึก
พฤติกรรม
จุดมุ่งหมายของจิตวิทยา 4 ประการ
1. บรรยาย
(Describe)
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตหรือพรรณนาว่า '' อะไร '' (what) เกิดขึ้นบ้าง
2. อธิบาย
(Explain)
สาเหตุของการเกิดพฤติกรรม '' ทำไม'' (why) พฤติกรรมนั้นจึงเกิดขึ้น
3. ทำนาย
(Predict)
โอกาสของการแสดงพฤติกรรมในแต่ละสถานการณ์
4. เปลี่ยนแปลง
(Change)
ป้องกันพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์และพัฒนาพฤติกรรมที่ต้องการ
แนวคิดและทฤษฎีทางจิตวิทยา
แนวคิดพฤติกรรมนิยม
ผู้นำในแนวคิดนี้ที่โด่งดังได้แก่ B.F. Skinner (1904-1990) ฐานแนวคิดของเขาคือ พฤติกรรมของบุคคล (หรือสัตว์) จะเปลี่ยนแปลงไปเนื่องมาจากผลกรรม (Consequence) ที่ได้รับ
พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจาก กระบวนการเรียนรู้ ประสบการณ์การเรียนรู้ การฝึกหัด
แนวคิดจิตวิเคราะห์
ผู้นำ : Sigmund Freud,Adler
ความเชื่อ : พฤติกรรมของมนุษย์ถูกควบคุมโดยกระบวนการทำงานของจิตไร้สำนึกซึ่งในบางครั้งบุคคลจะไม่ตระหนักรู้
จิตใจมนุษย์มี 3 ระดับ
1. จิตรู้สำนึก
2. จิตกึ่งรู้สำนึก
3. จิตไร้สำนึก
พลังจิตมี 3 ส่วน
1. อิด
2. อีโก้
3. ซุปเปอร์อีโก้
แนวคิดชีวประสาทวิทยา
ผู้นำ : Jamce Olds , Roger Sperry
ความเชื่อ : กระบวนการทางจิตทุกประเภทของมนุษย์ มีศูนย์บัญชาการอยู่ที่ระบบประสาท ดังนี้ จึงศึกษาและอธิบายการเกิดพฤติกรรมมนุษย์ด้วยการทำงานของระบบประสาทและเงื่อนไขของพันธุกรรม
กระบวนการทางจิตอยู่ที่สมองและระบบประสาท
แนวคิดมนุษย์นิยม
ผู้นำ : Carl Gogers , Abraham Maslow
ความเชื่อ : มนุษย์เป็นผู้กำหนดชีวิตของตนเอง มีเสรีภาพ และต้องการพัฒนาตน
มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความดีงามโดยธรรมชาติ การใส่ดี อยากทำความดี อยากพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น
แนวคิดปัญญานิยม
ผู้นำ : Jean Piaget , Noam Chomsky
ความเชื่อ : เราไม่สามารถเข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์ได้อย่างสมบูรณ์ ถ้าไม่ได้ศึกษากระบวนการทางจิต ด้วยการรับรู้ ความจำ การคิด รายการแก้ไขปัญหาของมนุษย์
ศึกษากระบวนการทางจิตด้วยระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์ การทำงานของจิตและระบบประสาทมีความซับซ้อนและโยงใยสัมพันธ์กัน การปรับรู้ และจัดการข้อมูล ข่าวสาร
วิธีการในการศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับจิตวิทยา
1. การสังเกต
(observation)
การสังเกตอย่างมีระบบ
การสังเกตอย่างไม่มีระบบ
2. การสำรวจ
(surveys)
3. การทดสอบและการวัด
(test and measurement)
การทดสอบทางจิตวิทยา
การวัดทางร่างกาย
4. การศึกษาสหสัมพันธ์
(correlational studies)
5. การศึกษาอัตชีวประวัติ
(case histories)
6. การทดลอง
(experimental studies)
การทดลองทางจิตวิทยาแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม
1. กลุ่มทดลอง
2. กลุ่มควบคุม
สิ่งสำคัญในการทดลองแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ
1. ตัวแปรอิสระ
2. ตัวแปรตาม