Beer

Type of Beer

Ales
-เบียร์หมักยีสต์ลอยหน้า คือที่เกิดจากการหมักขึ้นที่ด้านบนสุดของถังหมัก
-ถูกหมักที่อุณหภูมิสูงกว่าลาเกอร์เบียร์ ประมาณ 10-15องศา

-ใช้เวลาหมักน้อยกว่าลาเกอร์เบียร์ ประมาณ 2-3สัปดาห์

-เบียร์มีสีเข้ม รสชาติเข้มข้น

Lager beer
-เบียร์หมักยีสต์นอนก้น คือ เกิดจากการหมักขึ้นที่ก้นของถังหมัก
-ลาเกอร์เบียร์หมักที่อุณหภูมิไม่เกิน 5องศา
-ลาเกอร์ถูกหมักที่อุณหภูมิเย็นกว่า ส่งผลให้ได้เบียร์ที่ใส สด และเรียบเนียนกว่าเบียร์เอลล์
-ใช้เวลาหมักมากกว่าเอลล์ ประมาณ 4สัปดาห์
-เบียร์ที่ผลิตจากผู้ผลิตยักษ์ใหญ่เกือบทั้งหมดจะเป็นแบบ Lagers ซึ่งเหมาะกับอากาศการดื่มในเมืองร้อนๆอย่างประเทศไทยมากกว่า

Beer Production

Malting(การเตรียมข้าวมอลต์)
ขั้นตอนแรกในกระบวนการผลิตเบียร์เริ่มต้นด้วยการแปลงธัญพืชดิบเป็นมอลต์ จุดประสงค์ของการ Malti Malting คือการแยกเอนไซม์เพื่อการผลิตเบียร์ ธัญพืชเช่นข้าวบาร์เลย์ต้องผ่านกระบวนการทาให้ข้าวงอก เช่นผ่านการอบให้ความร้อนตากแห้งและบดให้เมล็ดแตก

Mashing
กระบวนการถัดไปคือ Mashing การนามอลต์บดหยาบต้มในน้า คล้ายกับการแช่ชาในน้า ธัญพืชจะถูกแช่ในน้าร้อนแต่ไม่ถึงกับเดือด กระบวนการนี้จะกระตุ้นให้เอนไซม์ธรรมชาติสลายแป้งให้กลายเป็นน้าตาล

lautering
เอาน้าที่ตอนนี้เต็มไปด้วยน้าตาลจากการ mash มากรอง สิ่งที่ได้คือน้าลักษณะเหลวเหนียวข้นหวานที่เรียกว่า wort

Wort Boiling
นา Wort มาต้มในกาต้มน้าขนาดใหญ่ เติมฮ็อปและสารแต่งกลิ่นอื่น ๆ ในระหว่างการต้ม Wort เพื่อสร้างรสชาติและกลิ่น

Fermentation
หลังจากที่ Wort ถูกทาให้เย็นลง Wort จะถูกย้าย ไปใส่ในถังหมักและใส่ยีสต์ตามชนิดที่ต้องการ ยีสต์จะช่วยแปลงน้าตาลใน Wort ให้เป็นคาร์บอนไดออกไซด์และแอลกอฮอล์

Conditioning & Bottling จะบ่งบอกถึงอายุของเบียร์ โดยย้ายเบียร์จากถังหมักแรกและนามาหมักต่อในอีกถังหนึ่ง เพื่อเก็บบ่มเบียร์ให้สุกเพื่อให้มีรสชาติและเกิดการคาร์บอเนตหลังจากการบ่มแล้ว เมื่อเบียร์ที่หมักมีอายุพอเหมาะ เบียร์จะถูกนามากรองและนาไปบรรจุในขวดบาร์เรลหรือกระป๋อง

Beer Tasting

Sight ดู
ดูว่ามีรอยร้าวในแก้วหรือรอยบุบบนกระป๋องหรือไม่ และอย่าลืมดูวันหมดอายุสังเกตสีของเบียร์และภาพรวม สีจะช่วยบ่งบอกถึงชนิดของมอลต์ ที่ถูกนามาใช้และรสชาติที่
ควรคาดหวัง

Swirl หมุน
หมุนข้อมือของคุณเป็นวงกลมจะทาให้เบียร์เคลื่อนอยู่ในแก้วการหมุนแก้วเพื่อทาให้กลิ่นกระจายได้เพิ่มขึ้น และกระตุ้นการเกิดคาร์บอไนเซชั่นหรือทาให้ฟองลดลง

Sniff ดม
ยื่นจมูกเข้าไปในแก้วและสูดแรงๆ ให้สูดลมหายใจเข้าทางจมูกเท่านั้น แล้วหายใจออกทั้งทางจมูกและปาก เมื่อทาแบบนี้ คุณจะรู้ได้ว่าเบียร์มีกลิ่นและรสชาติอย่างไร

Sip จิบ
ลองจิบดูสักคาแล้วค่อยๆกลั้วไปมาในปาก พยายามให้ทุกจุดบนลิ้นได้รับรสแล้วสังเกตว่าเบียร์มีรสชาติเป็นอย่างไร จิบอีกครั้งและเน้นดูที่ความสม่าเสมอของเบียร์ และความรู้สึกเมื่ออยู่ในปาก จะรู้สึกได้ว่าสามารถรับรสของเบียร์ได้ดีขึ้น

Swallow กลืน
สังเกตว่ารสชาติยังคงอยู่นานแค่ไหน ถ้ามันยังอยู่ แสดงว่าเบียร์เป็นแบบมีรสชาติตอนปลายที่อยู่ได้นานถ้ามันหายไปอย่างรวดเร็ว แสดงว่าเบียร์นี้เป็นแบบมีรสชาติตอนปลายที่อยู่ได้สั้นหรือไม่มี

Raw material

Water
เบียร์มีส่วนประกอบที่เป็นน้ำมำกกว่ำ90เปอร์เซ็นต์ น้ำที่ใช้ส้ำหรับกำรผลิตเบียร์ขึ นอยู่กับลักษณะของเบียร์ที่จะผลิตและพวกแร่ธำตุในน้ำจะมีผลต่อรสชำติของเบียร์

Hobs
ใช้ส่วนดอกมำท้ำเบียร์ ใช้เพื่อรักษำสมดุลและเพิ่มรสชำติของเบียร์ โดยฮ็อปจะมีรสขม ที่ช่วยตัดรสหวำนของมอลต์ และให้กลิ่นหอมนอกจำกนั นยังช่วยยืดอำยุเบียร์

Malt
เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จำกน้ำเมล็ดธัญพืช ซึ่งเมล็ดพืชจะสร้ำงเอนไซม์ มอลต์นิยมผลิตจำกข้ำวบำร์เลย์ ข้ำวสำลี ข้ำวไรย์ หรือข้ำวโอ๊ตเป็นต้น

Yeast
ท้ำหน้ำที่เปลี่ยนน้ำตำลในมอลต์ ให้กลำยเป็นแอลกอฮอล์และก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ ที่ท้ำให้เกิดฟอง และยังท้ำให้เกิดกลิ่นที่เป็นเอกลักษณ์ด้วย

Best Famous Production Site

Belgium

Denmark

Lreland

How to serve beer?

ภาชนะที่ใช้ใส่เบียร์
สามารถดื่มเบียร์จากภาชนะที่บรรจุได้หลายแบบ กระป๋อง, ขวดแก้ว, เหยือกเมสัน แต่การรินเบียร์ลงในแก้ว ถือเป็นวิธีที่เหมาะสมในการเสิร์ฟเบียร์เพราะแก้วจะช่วยเพิ่มรสชาติของเบียร์

เครื่องแก้วที่เหมาะสม
เบียร์จะใช้แก้วแบบเฉพาะ เพราะว่าแก้วจะช่วยเพิ่มกลิ่นหอม และกลิ่นหอมจะทาให้รสชาติของเบียร์ดีขึ้น

วิธีการรินเบียร์
ต้องใช้แก้วเบียร์ที่สะอาดจากนั้นถือแก้วที่ทามุม45 องศาและเทลงไปตรงกลางแก้วขณะที่เบียร์ในแก้วมาถึงระดับที่เทให้เอียงแก้วทามุม90 องศา

การเสิร์ฟในอุณหภูมิที่ถูกต้อง
อุณหภูมิ 1-4 องศาลาเกอร์จากถังเบียร์ขนาดใหญ่อุณหภูมิ 4-8 องศาลาเกอร์ส่วนมากที่มาจากโรงเบียร์เล็ก
อุณหภูมิ 8-10 องศาอเมริกันเอล

อุณหภูมิเซลลาร์ 10-13 องศาเบียร์เอลที่แรง

อุณหภูมิอุ่น 13-17 องศาเบียร์เบลเยี่ยมที่แรงๆ

Beer Taste Type

LAGER: เบียร์ที่ใช้ยีสต์และมอลต์ผสมออกมาเป็นสีบลอนด์ทองสีใสสดชื่นรสชาติคลีนดื่มง่าย

PILSNER: มีต้นกาเนิดจากสาธารณรัฐเชคเป็นเบียร์ดื่มง่ายบอดี้บางรสชาติคลีนคมหวานและหอมจางๆจากกลิ่นของมอลต์และฮ็อปส์

WITBIER: เบียร์สีอ่อนหมักจากข้าวสาลีดื่มง่ายไม่ขมมีรสซ่ามีกลิ่นมอลต์เปลือกส้มและเมล็ดผักชี

HEFEWEIZEN: สไตล์ยอดนิยมของเบียร์เยอรมันดื่มง่ายถูกปากคนไทยมักมีกลิ่นผลไม้ที่เกิดจากฮ็อปส์

PALE ALE: เบียร์สีทองรสชาติอ่อนดื่มง่ายบอดี้บางมีกลิ่นซิตรัสจางๆจากฮ็อปส์และยังมีรสชาติฮ็อปส์เต็มๆอีกด้วย

IPA: เบียร์สีส้มทองแดงบอดี้เข้มข้นฟองเบียร์สวยมีแอลกอฮอล์สูงมีรสชาติที่โดดเด่นจากฮ็อปส์และยีสต์ประกอบกับกลิ่นผลไม้จางๆ

DOUBLE IPA เรียกอีกอย่างว่า LMPERIAL IPA: เบียร์ที่ต่อยอดจาก IPA ปกติใส่ฮ็อปส์มากขึ้นมักมีปริมาณแอลกอฮอร์ที่สูงสามารถตอบสนองความต้องการของนักดื่มระดับฮาร์ดคอร์ได้ดี

STOUT: เป็น ALE ชนิดสีดาหรือน้าตาลเข้มรสชาตินุ่มนวลลึกบอดี้เข้มข้นกลิ่นจะหอมออกคล้ายโกโก้กาแฟหรือวานิลลา