การเปลี่ยนของคำที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรนำ
วัตถุประสงค์ในการวิจัย
เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางด้านรูปเขียนของคำที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรนำ
เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางด้านเสียงอ่านของคำที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรนำ
เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางด้านวงศัพท์และความหมายของคำที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรนำ
สมมติฐานในการวิจัย
คำที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรนำจากสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นจนถึงปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงในด้านรูปเขียน เสียงอ่านและความหมายของคำ
ขอบเขตในการวิจัย
ศึกษาเฉพาะคำที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษร2ตัวเรียงกันและออกเสียงแบบการออกเสียงอักษรนำ 2 พยางค์แต่จะไม่ศึกษคำที่มี 3พยางค์ หรือ 5 พยางค์ เนื่องจากเป็ฯคำประสมระหว่างคำ 2 พยางค์ที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรนำที่มีโครงสร้างแบบอื่นๆ
ไม่ศึกษาอักษณนำในกรณ๊ที่มีพยัญชนะ ห นำอักษณต่ำเดี่ยวหรือพยัญชนะ อ นำ ย
ไม่ศึกษาที่มีของคำ
ศึกษาเฉพาะคำศัพท์ในภาษาไทยกรุงเทพฯเท่านั้นไม่ศึกษาคำศัพท์ที่เป็นภาษาถิ่น
เก็บข้อมูลจากเอกสารประเภทพจนานุกรมและดรรชนีคำศัพท์เท่านั้น
คำสำคัญ
อักษรนำ
พยัญชนะประสม
นิยามศัพท์ที่ใช้ในการศึกษา
อักษรนำ หมายถึง พยัญชนะ 2 ตัวเรียงกัน ประสมสระเดียวและออกเสียงเป็นสองพยางค์ เช่น ขนน สบาย เอร็ดอร่อย
พยัญชนะต้น หมายถึง พยัญชนะตัวแรกที่ประสมกับสระ พยัญชนะต้นจะอยู่ในตำแหน่งต้นพยางค์ของคำ เช่น จะรัล พยัญชนะ จ จะทำหน้าที่เป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ที่1 และ ร ทำหน้าที่เป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ที่2
พยัญชนะนำ หมายถึง พยัญชนะตัวที่1 ของอักษรนำ เช่น สม่ำเสมอ พยัญชนะ ม ทำหน้าที่เป็นพยัญชนะนำ
พยัญชนะตาม หมายถึง พยัญชะตัวที่2 ของอักษณรนำ เช่น สม่ำเสมอ พยัญชนะ ม ทำหน้าที่เป็นพยัญชนะตาม
รูปปัจจุบัน หมายถึง รูปคำหรือเสียงอ่านของคำศัพท์ตามที่บันทึกในพจนานุกรมฉบับราชบัญฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ฉบับพิมพ์ครั้งที่6 พ.ศ.2539
คำถามการวิจัย
การเปลี่ยนแปลงในแต่ละด้านของพยัญชนะต้นที่เป็นอักษรนำ
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ดรรชนีค้นคำในกฎหมายตรสามดวง
เรียกชื่อธรรมเจดีย์จะนะพาสาไทย, สุคิร, รวัล 120, ปิงปองจาริกธรรมการ 2470, หนังสือฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 และ 2525
ลักษณะของอักษรนำ
การอ่านออกเสียง
วิจัยการอ่านออกเสียงคำไทยให้ถูกต้อง
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
อักษรนำเป็นอักขรวิธีไทยลักษณะหนึ่งที่มี“ พยัญชนะสองตัวเรียงกันประสมสระเดียว แต่ออกเสียงเป็นสองพยางค์คือพยางค์ต้นเหมือนมีสระประสมอยู่พยางค์ที่สองออกเสียงตามสระที่ประสมอยู่และพยางค์ที่สองนี้ถ้าเป็นอักษรเดี๋ยวต้องออกเสียงวรรณยุกต์ผันตามตัวหน้าด้วย
คำที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรนำมักมีปัญหาทางด้านการอ่านออกเสียงในปัจจุบันพูดจำนวนมากที่ออกเสียงอักษรนำไม่ถูกต้องตามหลักอักขรวิธี
ปัญหาการแปรในการอ่านออกเสียงคำเป็นเรื่องสำคัญดังจะเห็นได้จากการที่ราชบัณฑิตยสถานตระหนักถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในภาษาไทยจึงดำเนินโครงการวิจัยเรื่อง“ การออกเสียงคำไทยให้ถูกต้อง” เพื่อให้ทราบว่าคนไทยในปัจจุบันออกเสียงอ่านคำไทยอย่างไร
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ผลการศึกษาทำให้มองเห็นภาพการเปลี่ยนแปลงของภาษาด้านที่เกี่ยวกับคำที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรนำ ทั้งในด้านรูปเขียน เสียงอ่าน และความหมายของคำ
เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของภาษาในด้านอื่นๆ อีกต่อไป