Case 2

ประเภทของการวิจัย

จำแนกตามประโยชน์ที่ได้รับหรือเหตุผลในการวิจัย

การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์

เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ในการนำผลมาวิจัยจากการวิจัยพื้นฐานมาใช้ประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต

จำแนกตามลักษณะ(ความลึก/ความกว้าง)ของข้อมูล

การวิจัยเชิงปริมาณ

การวิจัยเชิงคุณภาพ

จำแนกตามระเบียบวิธีวิจัย

การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์

การวิจัยเชิงบรรยาย

ตามลักษณะวิชาหรือศาสตร์

การวิจัยทางวิทยาศาสตร์

การวิจัยทางสังคมศาสตร์

ตามเวลาที่ใช้ในการทำวิจัย

การวิจัยเเบบตัดขวาง/ระยะสั้น

การวิจัยเเบบต่อเนื่อง

ตามเป้าหมายหลักของการวิจัย

การวิจัยที่มุ่งบรรยายตัวแปร

มุ่งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร

มุ่งเเสวงหาความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างตัวแปร

ตามการจัดกระทำ

การวิจัยกึ่งทดลองเบื้องต้น

การวิจัยกึ่งทดลอง

การวิจัยแบบทดลองที่เเท้จริง

การเขียนคำถามวิจัย

ประเด็นคำถามเชิงพรรณนา

ประเด็นคำถามเชิงสัมพันธ์

ประเด็นคำถามเชิงเปรียบเทียบ

ธรรมชาติของการวิจัย

มีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน

มีความเที่ยงตรง

มีความเชื่อมั่น

เป็นการเเก้ปัญหา

ตัวแปรเเละสมมุติฐาน

ความหมายของตัวแปร

คุณสมบัติหรือคุณลักษณะ หรือปรากฏการณ์ของสิ่งต่างๆ ที่ผู้วิจัยต้องการจะศึกษาหาความจริง

ลักษณะเเละชนิดของตัวแปร

ลักษณะของตัวแปร

ตัวแปรรูปธรรม

ตัวเเปรนามธรรม

ชนิดของตัวแปร

ตัวแปรอิสระ

ตัวแปรตาม

แปรเเทรกซ้อนหรืออาจเรียกว่า ตัวเเปรเกิน

ตัวแปรสอดแทรก

การนิยามตัวแปรและการหาข้อมูลหรือข้อเท็จริง

การหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง

สมมติฐาน

คำตอบที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้าอย่างสมเหตุสมผล

ประเภทของสมมติฐาน

สมมุติฐานทางวิจัย

สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง

แหล่งที่มาของสมมุติฐาน

การศึกษาเอกสารเเละงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การสนทนากับผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆ

ลักษณะของสมมุติฐานที่ดี

สอดข้องกับจุดมุ่งหมายของงานวิจัย

สอดคล้องกับสภาพที่เป็นจริง

การจัดกระทำข้อมูล

Input

Processing

Output

การสรุปผล

จรรยาบรรณของนักวิจัย

ต้องซื่อสัตย์เเละมีคุณธรรมในทางวิชาการเเละการจัดการ

ความความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย

คุณลักษณะของการวิจัย

เป็นการแก้ปัญหาที่ช่วยให้สามรถบรรลุเป้าหมายสุดท้าย

มีกระบวนการที่ถูกต้อง ชัดเจน

แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย

การเกิดปรากฏการณ์ใดๆที่เกิดขึ้นนั้นจะสามารถหาสาเหตุที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์นั้นได้เสมอ

การเกิดปรากฏการณ์ใดๆที่เกิดขึ้นตามกฏของเหตุและผลของธรรมชาติจะมีรูปแบบตัวแปรที่ค่อนข้างจะชัดเจน

การเกิดปรากฏการณ์ใดๆที่เเตกต่างกันนั้น จะมีความมากน้อยของตัวแปรที่เป็นสาเหตุ และตัวแปรผลที่เเตกต่างกัน

ตัวแปรสาเหตุและตัวแปรผลที่เกิดขึ้นนั้นๆ ไม่ได้เป็นความสัมพันธ์เชิงเดี่ยวเเต่จะมีตัวแปรอื่นๆ ที่มักจะมาเกี่ยวข้องอยู่เสมอ

ความรู้ความจริงที่เกิดขึตามธรรมชาติ

จุดมุ่งหมายของงานวิจัย

เป็าหมายของงานวิจัย คือมุ่งหาคำตอบเพื่อนำมาแก้ไขปัญหา

การวิจัยเป็นการสรุปผล หลักเกณฑ์

เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล หรือปรากฏการณ์ที่สังเกตได้

ความหมายของการวิจัย

เป็นการเเสวงหาความรู้ที่เมียระบบมีขั้นตอนที่ชัดเจนปราศจากอคติส่วนตัว

ขั้นตอนในการวิจัย

เลือกหัวข้อปัญหา

การกำหนดขอบเขตของปัญหา

การศึกษาเอกสารเเละผลงานวิจัย

การกำหนดสมมติฐาน

การเขียนเค้าโครงการวิจัย

การสร้างเครื่องมือรวบรวบรวมข้อมูล

ขั้นดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล