การศึกษาประสิทธิภาพของการเล่นแบดมินตันกับการพัฒนาสมองส่วนหน้าและทักษะการประสานมือและตาของเด็กสมาธิสั้น โรงพยาบาลสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์
ข้อมูลวิจัย
ผู้วิจัย : กิตญาณี คงสมสุข พ.บ.
วว.กุมารเวชศาสตร์
วารสาร โรงพยาบาลสกลนคร ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2562
บทนำ
โรคสมาธิสั้นเป็นภาวะบกพร่องในการทำหน้าที่ของสมองส่วนหน้าบริเวณ Prefrontal cortex
บกพร่องหลักสามด้าน ได้แก่ อาการซน(Hyperactivity),อาการขาดสมาธิ(Attention deficit),อาการหุนหันพลันแล่น(Impulsivity)
ประเทศไทยพบความชุกของภาวะสมาธิสั้นในเด็ก สูงถึงร้อยละ 8.1 และจากข้อมูลเวชระเบียน รพ.สมเด็จ พบเพิ่มขึ้นจาก 12 ราย ในปี 2560 เป็น 48 รายในปี 2561
การักษาใช้ยาปรับสมาธิร่วมกับพฤติกรรมบำบัด
การฝึกเล่นกีฬา
แบดมินตัน
ไม่ใช้แรงมากเหมาะกับเด็ก 7-12 ปี
ยังไม่พบการวิจัยใดมาก่อน
เสียหน้าที่ในการดำเนินชีวิตประจำวัน
พฤติกรรมก้าวร้าว ภาวะวิตกกังวลซึมเศร้า รู้สึกด้อยค่า
ปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนและสังคม
พฤติกรรมเสี่ยง เช่น เกิดอุบัติเหตุ ใช้สารเสพติด
การเรียน
วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการเล่นกีฬาแบดมินตันในเด็กสมาธิสั้นต่อการพัฒนาสมองส่วนหน้าและการพัฒนาทักษะการประสานมือและตา (eye-hand coordination)
สรุปและอภิปราย
เพศ, อายุ ไม่มีผลต่อความสามารถในการเล่นแบดมินตัน
แบดมินตันสามารถพัฒนาเด็กสมาธิสั้นให้มีพัฒนาการของสมองส่วนหน้าในด้านสมาธิดีขึ้น จากทฤษฎี สมองสามารถรับรู้คำอ่านได้เร็วกว่ารับรู้สี รวมทั้งมีแนวโน้มที่จะอ่านตามคำอ่านโดยอัตโนมัติ
stroop color-word การพูดสีให้ถูกต้องในขณะที่คำอ่านเป็นสีอื่นต้องใช้สมาธิมากขึ้น ผ่านกระบวนการคิดก่อนพูด
เด็กมีสมาธิมากขึ้น
ความสัมพันธ์ของกีฬาแบดมินตันกับการพัฒนาทักษะการประสานมือและตาในเด็กภาวะสมาธิสั้นได้ดีขึ้น
สอดคล้อง
Shalit และ Hantiu ศึกษาผลการอออกกำลังกายแบบ EWMN พบว่า กลุ่มที่มีการออกกำลังกายแบบ EWMN สามารถพัฒนา coordination ได้ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ข้อจำกัด
ไม่ได้ทำการวัดความฉลาดทางเชาว์ปัญญา (Intelligence Quotient) และกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 62.5 เคยเล่นแบดมาก่อน
ความสามรถของการเล่นกีฬา
ทำการศึกษาเฉพาะเด็กที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลสมเด็จ โดยมีสิ่งแวดล้อม ที่ใกล้เคียงกัน หากนำไปศึกษาที่อื่นอาจให้ผลต่างกันได้
การฝึกเล่นกีฬาที่ต้องมีการใช้อุปกรณ์ มีการกะระยะ เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการพัฒนาเด็กสมาธิสั้นนอกเหนือจากการกินยาเพียงอย่างเดียว
ข้อเสนออแนะ
1. ควรศึกษาผลการเล่นแบดมินตันกับการพัฒนาด้านพฤติกรรมและการปรับตัวที่มีผลเกี่ยวเนื่องถึงสุขภาพจิต
2. เนื่องจากผลการศึกษานี้ติดตามผลการศึกษา 1 เดือน หลังกลุ่มตัวอย่างฝึกเล่นแบดมินตัน หากมีการศึกษาระยะยาวน่าจะช่วยให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนยิ่งขึ้น
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chang, Liu, Yu และ Lee
ผลของการออกกำลังกายกับการพัฒนาการทำงานของสมองส่วนหน้าในเด็กโรคสมาธิสั้น
ประเมินการพัฒนาสมองส่วนหน้าโดยใช้ Stroop test และ WISCT ก่อนและหลัง
พบว่า ออกกำลังกายดีกว่า
เด็ก 8- 13 ปี จำนวน 40 คน
Aerobic exercise
ดูวิดีโอออกกำลังกายเท่านั้น
Lilach และ Lacob
การออกกำลังกายแบบ EWMN เป็นแบบทดสอบมาตรฐาน
เด็กสมาธิสั้น 40 คน
ออกกำลังกายทั่วไป
ออกกำลังกาย EWMN
กลุ่มควบคุม
พบว่า การออกกำลังกายแบบ EWMN สามารถพัฒนา Coordination ให้ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
วิธีการวิจัย
ศึกษาเชิงพรรณา Cross-sectional descriptive study
Pre-test และ Post-test
ใช้เกณฑ์ในการคัดอาสาสมัคร
ผู้เข้าร่วมวิจัยทำแบบทดสอบ ใช้ stroop test และ ประเมินทักษะการประสานมือและตา(eye-hand coordination)การฝึกเล่นกีฬาแบดมินตัน
แบบประเมินการโยนรับบอลเข้าผนังก่อน และ หลังการฝึกกีฬาแบดมินตัน
1 ชั่วโมง
13.00-14.00 ทุกวัน ติดต่อรวม 10 วัน ก่อนประเมินและหลังประเมิน 1 เดือน
มกราคม - เมษายน 2562
เด็กสมาธิสั้นวัยเรียน จำนวน 32 คน
การวิเคราะห์ข้อมูล
สถิติเชิงพรรณาวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป
ค่าเฉลี่ย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
มัธยฐาน
ต่าสูงสุดและค่าต่ำสุด
สถิติเชิงอนุมาน
เปรียบเทียบข้อมูลก่อนและหลัง
สถิติ Paired sample t-test (ประชากรไม่อิสระ)
ผลการศึกษา
ผู้ป่วยที่เข้าหลักเกณฑ์การศึกษาทั้งสิ้น 32 คน
ชาย 24 คน (75%)
อายุเฉลี่ย น้อยสุด 7 ปี,มากสุด 12 ปี
กินยา Methylphenidate (ไม่รับยาอื่นร่วม)
ไม่เคยเข้าร่วมกิจกรรมบำบัด
ก่อนเล่นแบดมินตัน
Stroop test
Stroop color = 20.28±2.16 sec
Stroop word = 17.81±3.03 sec
Stroop color-word = 17.69±25 sec
11.40±2.39 ครั้ง
แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001)
หลังเล่นแบดมินตัน
Stroop test
Stroop color = 22.03±2.68 sec
Stroop word = 20.84±2.52 sec
Stroop color-word = 19.56±3.13 sec
14.34±3.05 ครั้ง