Diabetic Ketoacidosis (DKA) โรคภาวะกรดเกินจากสารคีโตน
ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 43 ปี
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ปวดท้อง เพลีย กระหายน้ำบ่อย เเละมีอาการปากเเห้ง
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Urine Analysis pH = 4.5 ต่ำกว่าปกติ แสดงว่าปัสสาวะเป็นกรด
Sugar = 3+ แสดงว่ามีน้ำตาลปนออกมาในปัสสาวะ
Ketone body = 2+ แสดงว่ามี Ketone ปนออกมาใน ปัสสาวะ
Electrolytes
Sodium = 125 mmol/L ต่ำเนื่องจากปัสสาวะมาก ส่งผล ให้ Na ออกมากับปัสสาวะ
Potassium = 3.1 mmol/L ต่ำเนื่องจากสูญเสีย K จากการ ให้อินซูลิน
FBS = 585 mg/dl มีน้ำตาลในเลือดสูงเนื่องจากร่างกาย ขาดอินซูลิน
BUN = 22.5 mg/dl สูงเนื่องจากร่างกายเกิดภาวะขาดน้ำ
Cr = 1.4 mg/dl สูง เนื่องจากร่างกายเกิดภาวะขาดน้ำ
พยาธิสภาพ
ซึ่งเป็นผลทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำทางปัสสาวะ มีการสูญ เสียโชเดียม โพแทสเซียม แมกนีเซียมและฟอสฟอรัสทาง ปัสสาวะเพิ่มด้วยจะทำให้ผู้ป่วยมีภาวะขาดน้ำ อาการได้แก่ กระหายน้ำ อ่อนเพลีย ริมฝีปากและเยื่อบุช่องปากแห้ง
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 2
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะขาดน้พในนร่างกาย เนื่องจากมีการปัสสาวะบ่อย ส่งผลให้ร่างกายสูญเสียน้ำเเละเกลือเเร่
ข้อมูลสนับสนุน
S : ผู้ป่วยบอกว่า มีอาการกระหายน้ำ และมีปากแห้งร่วมด้วย
: ค่า PR : 107 ครั้ง/นาที
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
• ค่า BUN สูงกว่าปกติ = 22.5 mg/dl
• ค่า Na ต่ำกว่าปกติ = 125 mmol/L
• ค่า K ต่ำกว่าปกติ = 3.1 mmol/L
• ค่า Cr สูงกว่าปกติ = 1.4 mg/d
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยไม่มีอาการกระหายน้ำ และริมฝีปากชุ่มชื้นดี
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยไม่มีอาการกระหายน้ำ และริมฝีปาก ของผู้ป่วยซุ่มชื้นดี
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค่า BUN = 12 mg/dl ปกติ ค่า Na = 140 mmol/L ปกติ
ค่า K = 4.0 mmol/L ปกติ ค่า Cr = 0.8 mg/dl ปกติ และค่า Intake = 1560 ml
ค่า output = 1700 ml วัด vital signs T = 36.5
* BP = 120/80 mmHg RR = 20 ครั้ง/นาที PR = 86 ครั้ง/นาที ผล GCS = E4V5M6
กิจกรรมทางการพยาบาล
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำ 0.45 Nacl 1000 ml ทาง หลอดเลือด าตามแผนการรักษาของแพทย์
2. ตรวจวัดและบันทึก Vital signs ทุกๆ 4 ชั่วโมง
3. ดูแลให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ 6-8 แก้วต่อวัน
4. บันทึกจำนวนสารน้ำเข้าออก ทุกๆ 4 ชั่วโมง
5. สังเกตอาการและอาการแสดงของการกระหายน้ำและความชุมชื้นของริมฝีปากอย่างสม่ำเสมอ
6. แนะน่าให้ผู้ป่วยเปลี่ยนท่าอย่างช้าๆ เช่น เปลี่ยนจากท่านอนเป็นท่ายืนอย่างช้าๆ
7. ประเมินวะ บความรู้สึกตัว GCS
ภาวะน้ำตาลสูงในเลือดหรือภาวะขาดอินซูลินทำให้มีการสลายไขมัน (lypolysis) ให้เป็นกรดไขมันอิิสระ (free fatty acid) เพิ่มมากขึ้น ในภาวะปกติอินซูลินจะทำหน้าที่ ควบคุมไม่ให้ FFA ถูกเปลี่ยนเป็นคีโตนมากเกินไป โดยที่ ระดับอินซูลินในเลือดที่จะสามารถยับยั้งการผลิตคีโตนจะ ต่ำกว่าระดับที่ช่วยส่งเสริมการใช้น้ำตาลของเนื้อเยื่อส่วน ปลาย และยับยั้งการผลิตน้ำตาลที่ตับ
ดังนั้นเมื่อร่างกายขาดอินซูลินอย่างมาก FFA จึงถูกเปลี่ยน เป็นคีโตนมากขึ้น เมื่อการใช้น้ำตาลในเนื้อเยื่อส่วนปลาย บกพร่อง และมีการผลิตน้ำตาลกลูโคสจากตับเพิ่มขึ้น เป็น ผลให้ระดับน้ำตาลสูงในเลือด
เมื่อระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นจะทำให้ร่างกายขับน้ำตาล กลูโคสที่มากเกินไปออกทางปัสสาวะ และมีการปัสสาวะ ออกมาโดยกระบวนการ osmotic diuresis
เมื่อกรดคีโตนเพิ่มมากขึ้น ทำให้เกิดภาวะกรดเมตาบอลิก ชนิด anion gap กว้างขึ้น
ส่งผลให้มีกรดในร่างกายสูงจึงมีการกระตุ้นศูนย์หายใจซึ่งเป็นผลให้ผู้ป่วยหายใจเหนื่อย
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 1
ผู้ป่วยหายใจเหนื่อยเนื่องจากร่างกายมีภาวะความเป็น กรด สูงจากการมีระดับน้ำตาลในกระแสเลือดสูงกว่าปกติ
ข้อมูลสนับสนุน
S : ผู้ป่วยบอกว่า มีอาการหายใจเหนื่อย เเละรู้สึกอ่อนเพลีย
O : - สังเกตว่าผู้ป่วยมีสีหน้าอ่อนล้า
• วัด Vital Signs ได้ RR : 24 ครั้ง/นาที PR : 107 ครั้ง/ นาที ออกซินเจน Set : 94%
• ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
- ค่า UA > ค่า pH = 4.5 ต่ำกว่าปกติ –
- ค่า ketone body 2+ Sugar 3+ ค่า FBS = 756 mg/dl สูงกว่าปกติ
- ค่า Bicarbonate = 17 mmol/L ต่ำกว่าปกติ
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยหายใจสะดวกขึ้น
เกณฑ์การประเมินผล
ป่วยหายใจสะดวกขึ้นและผู้ป่วยมีสี สดชื่น ผู้ป่วยมีอาการหายใจเหนื่อยน้อยลง ระดับน้ำตาล ในเลือดลดลงเรื่อยๆ ผล DTX = 230 mg/dl sa
การวัด vital signs T = 36.5° PR = 82 ครั้ง/นาที RR = 20 ครั้ง/ นาที BP = 120/80 mmHg
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ไม่มีค่า Ketone body และ Sugar ออกมาทางปัสสาวะค่า pH ใน UAE 5.0 ปกติ และค่า Bicarbonate = 26 mmol/L ปกติ
กิจกรรมทางการพยาบาล
1. จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงอย่างน้อย 30-45°
2. กิจวัตรประจำวันบางส่วนให้ผู้ป่วยเช่นเช็ดตัวหรือแปรง ฟันให้ผู้ป่วยในตอนเช้า
3. ดูแลและให้ regular Insulin ทางหลอดเลือดดำทันที เมื่อตรวจพบน้ำตาลในเลือดสูงตามแผนการรักษาของแพทย์
4. วัด Vital signs ทุกๆ 4 ชั่วโมง และตรวจ DTX ทุกๆ 1 ชม.
5. สังเกตสีหน้าและอาการเหนื่อยของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
ถ้าค่า pH ต่ำกว่า 7 ส่งผลให้คีโตนคั่งในร่างกาย อาจกดศูนย์หายใจ ทําให้ผู้ป่วยอ่อนเพลียซึมหรือหมดสติ ไป
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 3
ผู้ป่วยมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงจากการที่ร่างกายมีภาวะขาดอินซูลินอย่างรุนเเรง
ข้อมูลสนับสนุน
O:ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ มีค่า Sugar ออกมาจาก ปัสสาวะ 3+
ค่า FBS = 585 mg/dl สูงมากกว่าปกติ
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ป่วยมีระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ
เกณฑ์การประเมินผล
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ไม่มีค่า Sugar ออกมาจากปัสสาวะ FBS = 230 mg/dl ปกติ
กิจกรรมทางการพยาบาล
1. ให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน DM diet
2. ดูแลและให้ regular Insulin ทางหลอดเลือดดำเมื่อ ตรวจพบน้ำตาลในเลือดสูงตามแผนการรักษาของแพทย์
3. ตรวจ DTX plemeal. ติดตามผลการตรวจ E'lyte และ การตรวจปัสสาวะเพื่อดูว่ามี Sugar ในปัสสาวะหรือไม่
4. ตรวจวัดและบันทึก Vital signs ทุกๆ 4 ชั่วโมง
ให้ยา Regular Insulin ทางหลอดเลือดด่า ออกฤทธิ์ปกติ 0.5 ยูนิต/Kg เพื่อเข้าไปทำหน้าที่เป็นอินซูลินตามธรรมชาติ ทีร่างกายต้องการ เมื่อฉีดเข้าไปแล้ว อินซูลินจะเข้าไป ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ให้ยา NPH ( Isophane insulin ) ฉีดเข้าไปทางชั้นให้ ผิวหนัง ออกฤทธิ์นานปานกลาง ก่อนอาหาร 30 นาที เพื่อ เข้าไปทำหน้าที่เป็นอินซูลินตามธรรมชาติที่ร่างกายต้องการ เมื่อฉีดเข้าไปแล้ว อินซูลินจะเข้าไปควบคุมระดับน้ำตา
5. ดูแลให้ 5% DN/2 ทางหลอดเลือดดำตามแผนการ รักษาของแพทย์ในกรณีที่นํ้าตาลในเลือดของผู้ป่วยต่ำลง
ให้ยา Potassium Chloride (KCL) เพื่อทดแทน โพแทสเซียม ที่เสียไป ทำให้ระดับในเลือดปกติ ไม่ต่ำจน เกินไป
โรคประจำตัว : diabetes mellitus (DM)
ข้อวินิจฉัยที่ 4
เฝ้าระวังภาวะ Hypo/hyperglycemia เนื่องจากระดับน้ำตาลไม่คงที่
ข้อมูลสนับสนุน
O : ผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานมา 3 ปี
O : ค่า DTX อยู่ในช่วง 64-585 mg/dL
O : ได้รับ 0.9% NSS 100 ml+RI 100 unit V drip 5 ml/hr
วัตถุประสงค์ ไม่เกิดภาวะ hypo/hyperglycemia
เกณฑ์การประเมิน
Hypoglycemia
1.ไม่มีอาการหิวกระหาย มึนงง ซึมชักหมดสติ
2.ระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในระดับ 80-200 mg/dL
Hyperglycemia
1.ผู้ป่วยไม่มีกลิ่นหายใจเหมือนผลไม้หวานเอียน
2.ระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในระดับ 80-200 mg/dL
3.ไม่พบ ketone ในปัสสาวะ 4.ไม่พบอาการ ซึม กระหายน้ำ อ่อนเพลีย
กิจกรรมทางการพยาบาล
Hypoglycemia
1.สังเกตอาการ หิวกระหาย ซึมซักหมดสติ
2.เจาะDtxX เวลา 7 น. 15 น. Keep 100-250 mg%
3.แนะนําการรับประทานอาหาร
Hyperglycemia
1.ตรวจวัดสัญญาณ 4 โมงเพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
2. ประเมินค่าระดับน้ำตาลในเลือด เจาะ DTX ทุก 1 ชั่วโมง keep 100-250 mg%
3.ดูแลให้ได้รับอินซูลิน5 unit V stat และ 0.9 % NSS 100 ml+RI 100 unit V drip 5 ml/hr และสังเกตอาการแทรก ซ้อนจากการให้อินซูลินเพื่อป้องกันน้ำตาลในเลือดต่ำ 4.สังเกตอาการของการมีระดับน้ำตาลในเลือดสูง เพื่อเฝ้าระวังภาวะ แทรกซ้อนจากHyperglycemia และวางแผนการพยาบาลที่เหมาะสม
5.ติดตามผลเลือด FBS เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำตาลในเลือด