สถิติพื้นฐานและการเก็บรววบรวมข้อมูล

ความหมายของสถิติ

ข้อมูล หรือสารสนเทศตัวเลข หรือข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม

ประเภทของข้อมูล

1) นามบัญญัติ (Nominal Scale)

จัดเป็นกลุ่มได้ เช่น ตัวแปรเพศ (ชาย หญิง)

2) เรียงอันดับ (Ordinal Scale)

จัดเป็นกลุ่มได้บอกระดับความมากน้อย หรือเรียงลำดับได้ เช่น ตัวแปรวุฒิการศึกษา(ประถม มัธยม)

3) อันตรภาค (Interval Scale)

จัดเป็นกลุ่มได้บอกระดับความมากน้อย หรือเรีบงลำดับได้ มีค่าเป็นตัวเลขที่มีช่วงห่างเท่ากัน

4) อัตราส่วน (Ratio Scale)

จัดเป็นกลุ่มได้บอกความมกาน้อย หรือเรียงลำดับได้มีค่าเป็นตัวเลขที่มีช่วงห่างเท่ากัน มีจุดเริ่มต้นจาก 0

การใช้สถิติเพื่อวิเคราะห์ตัวแปรในการวิจัย

การวิเคราะห์สถิติสองตัวแปร (Bivariate)

1) ตัวแปรอิสระและตัวแปตามเป็นตัวแปรเชิงคุณภาพ

2) ตัวแปรอิสระเป็นตัวแปรเชิงคุณพภาพและตัวแปรตามเป็นตัวแปรเชิงปริมาณ

3) ตัวแปรอิสระและตัวแปรตามเป็นตัวแปรเชิงปริมาณ

การวิเคราะห์สถิติหลายตัวแปร (Univariate และ Multivariate)

วัตถุประสงค์ของการใช้สถิติหลายตัวแปร คือ เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่าง หรือ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรโดยมีตัวแปรอิสระมากว่าหนึ่งตัว

ประเภทของสถิติ

Descriptive Statistics

เกี่ยวข้องกับการทำตารางการพรรณนา การอธิบายข้อมูลสถิติที่ใช้ เช่น ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าพิสัย ฯลฯ

Inferential Statistics

วิเคราะหข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อนำไปสู๋การลงนัยสรุปไปยังประชากร

สถิติพารามิเตอร์(Parametric Statistics) การวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมมาจากกลุ่มตัวอย่างเพื่ออธิบาย สรุปลักษณะบางประการของประชากร โดยมีการนำทฤษฎี ความน่าจะเป็นมาประยุกต์ใช้

สถิติไร้พารามิเตอร์(Nonparametric Statistics) เป็นวิธีการทางสถิติที่สามารถนำมาใช้ได้โดยปราศจากข้อตกลงเบื้องต้นทั้ง 3 ประการข้างต้น สถิติที่อยู่ในประเภทนี้ เช่น ไคสแควร์, Median Test

ประเภทของตัวแปรที่ใช้ในสถิติ

ประเภทตัวแปรตามบทบาท

ตัวแปรอิสระ(Independent Variables) คือ ตัวแปรที่กำหนดขึ้นเพื่อทดสอบสมมติฐานเป็นตัวแปรที่เราเปลี่ยนไปเพื่อจะดูผลที่ตามมา

ตัวแปรตาม(Dependent Variables) คือ ตัวแปรที่เปลี่ยนไปตามตัวแปรต้น หรือผลของตัวแปรต้น

***ตัวแปรคบคุม คือ ตัวแปรที่ส่งผลต่อการทดลองอาจทำให้การทดลองคลาดเคลื่อน จึงต้องควบคุมไว้

ประเภทของตัวแปรตามระดับของการวัด

ตัวแปรกลุ่ม หรือ นามมาตร หรือ นามกำหนด(Norminal)

ตัวแปรอันดับ(Ordinal)

ตัวแปรช่วงหรืออันตรภาค(Interval)

ตัวแปรอัตราส่วน(Ratio)

สถิติพรรณนาสำหรับตัวแปรเชิงคุณภาพ

ใช้กกับข้อมูลที่เก็บจากแบบสอบถาม มีการลงรหัสข้อมูลให้เป็นตัวเลข(Coding)ใช้ได้กับข้อมูลประเภทที่มีระดับการวัดแบบช่วง(Interval Scale) และมีการวัดแบบอัตราส่วน(Ratio Scale) สถิติพรรณนาสำหรับตัวแปรเชิงปริมาณ เช่น ขนาดตัวอย่าง(N) ค่าการผันแปร(Variance) พิสัย(Range)