สถิติเพื่อการวิจัย
คำว่าสถิติ (Statistics) มาจากภาษาเยอรมัน
ว่า Statistics มีรากศัพท์มาจาก Stat หมายถึง
ข้อมูลหรือสารสนเทศ ซึ่งจะอำนวยประโยชน์ต่อ
การบริหารประเทศในด้านต่างๆ เช่น การทำ
สำมะโนครัวเพื่อจะทราบจำนวนพลเมือง
นามบัญญัต
เป็นระดับการวัดที่หยาบที่สุด จัดข้อมูล
หรือตัวแปรออกเป็นกลุ่ม เช่น เพศ
อาชีพ เป็ นต้น
1. จัดเป็นกลุ่มได้
เช่น ตัวแปรเพศ (ชำย หญิง)
อัตรภาค
เป็นข้อมูลที่บอกถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่
วัดได้แต่ละช่วง ที่มีความห่างเท่ากัน ทุกช่วง
เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข สามารถ บวก ลบ กันได้
แต่ไม่มีศูนย์แท้ เช่น อุณหภูมิ ระดับทัศนคติ
ระดับควำมคิดเห็น
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
1.จัดเป็นกลุ่มได้
2. บอกระดับความมากน้อย หรือ
เรียงลำดับได้
3. มีค่าเป็นตัวเลขที่มีช่วงห่างเท่ากัน
ประเภทของสถิต
Descriptive
Statistics
เกี่ยวข้องกับการทำตาราง การพรรณนา การอธิบายข้อมูลสถิติที่ใช้ เช่น ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐานค่าฐานนิยม ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าพิสัย ฯลฯ
Inferential
Statistics
วิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อ
นำไปสู่การลงนัยสรุปไปยังประชากร
- สถิติพารามิเตอร์ (Parametric Statistics)
- สถิตไร้พารามิเตอร์ (Nonparametric Statistics)
ประเภทตัวแปรตามบทบาท
– ตัวแปรอิสระ (Independent Variables)
– ตัวแปรตาม (Dependent Variables)
สถิติพรรณนำกับกำรวิจัย
ช่วยสรุปคุณสมบัติของสิ่งศึกษา (ประชากรหรือกลุ่มหน่วยวิเคราะห์)
ช่วยสรุปตัวเลขหรือหน่วยจำให้เห็นเป็นรูปธรรม
เหมาะสำหรับการรายงานวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
ช่วยในการตัดสินใจเบื้องต้นว่าการวิจัยได้เก็บข้อมูล
จากกลุ่ม/หน่วยวิเคราะห์ที่เหมาะสมหรือไม่ ทั้งในด้านจำนวนและในด้านคุณสมบัต
สถิติ หมายถึง ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จากการ
เก็บรวบรวม เช่น จำนวนผู้ประสบอุบัติเหตุบน
ท้องถนน อัตราการเกิดของเด็กทารก จำนวน
ผู้เสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก เป็นต้น
เรียงอันดับ
เป็นข้อมูลที่ใช้จัดอันดับของสิ่งต่างๆ โดย
เรียงอันดับของข้อมูลตำมวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้จากสูงสุดไปหาต่ำสุด เช่น ลำดับที่ของการ
สอบ ลำดับของการประกวดสิ่งต่างๆ หรือ
ความนิยมเป็นต้น ซึ่งจะนำไป บวก ลบ คูณ
หาร กันไม่ได้เช่นกัน
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ
1.จัดเป็นกลุ่มได้
2. บอกระดับความมากน้อย หรือ
เรียงลำดับได้
เช่น ตัวแปรวุฒิการศึกษา (ประถม
มัธยม)
อันตราส่วน
เป็นข้อมูลที่ใช้วัดในระดับสูง
สำมำรถบวก ลบ คูณ หาร ได้ และมีศูนย์แท้
1.จัดเป็นกลุ่มได้
2. บอกระดับความมากน้อย หรือเรียงลำดับ
3. มีค่ำเป็นตัวเลขที่มีช่วงห่างเท่ากัน
4. มีจุดเริ่มต้นจำก 0
หลักการเบื้องต้นที่สำคัญของการใช้สถิต
เสนอในรูปแบบมาตรฐานของแต่ละวิธีการหรือ
ที่วงวิชาการยอมรับ
แปลผลค่าสถิติต่างๆ ได้ถูกต้อง
ตีความหมาย
ประเภทของตัวแปรที่ใช้ในสถิต
ตัวแปรกลุ่ม หรือ นามมาตร หรือ นามกำหนด (Norminal)
– ตัวแปรอันดับ (Ordinal)
– ตัวแปรช่วงหรืออันตรภาค (Interval)
– ตัวแปรอัตราส่วน (Ratio)