กาารเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม

รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมแบบ APA

หนังสือทั่วไป

ชื่อผู้แต่ง./(ปีที่พิมพ์)./ชื่อเรื่อง /ครั้งที่พิมพ์ (พิมพ์ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป). /สถานที่พิมพ์:/
////////สำนักพิมพ์.

บทความในหนังสือ

ชื่อผู้เขียนบทความ./(ปีพิมพ์)./ชื่อบทความ./ใน/ชื่อผู้แต่ง (บรรณาธิการ),/ชื่อหนังสือ
////////(ครั้งที่พิมพ์), เลขหน้าที่ปรากฏบทความจากหน้าใดถึงหน้าใด)./สถานที่พิมพ์:/
////////สำนักพิมพ์.

วารสาร

ชื่อผู้เขียนบทความ./(ปีพิมพ์)./ชื่อบทความ./ชื่อวารสาร,/ปีที่ (ฉบับที่),/เลขหน้าที่ปรากฎ.

นิตยสาร

ชื่อผู้เขียนบทความ./(ปี,เดือนที่พิมพ์)./ชื่อบทความ./ชื่อนิตยสาร,/ปีที่ (ฉบับที่),/
////////เลขหน้าที่ปรากฏ.

หนังสือพิมพ

ชื่อผู้เขียนบทความ./(ปี,เดือนที่พิมพ์)./ชื่อบทความ./ชื่อหนังสือพิมพ์,/ปีที่ (ฉบับที่),/
////////เลขหน้าที่ปรากฎ.

วิทยานิพนธ์

ชื่อผู้เขียนวิทยานิพนธ์./(ปีพิมพ์)./ชื่อวิทยานิพนธ์./(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต
//////// หรือวิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต,/ชื่อมหาวิทยาลัย/สถาบันการศึกษา).

สื่อโสตทัศน์และสื่ออื่น ๆ

ชื่อผู้จัดท า (หน้าที่)./(ปีที่ผลิต)./ชื่อเรื่อง. /[ลักษณะของสื่อ]. /สถานที่ผลิต: หน่วยงานที่เผยแพร่.

สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์

บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารที่เผยแพร่ทั้งฉบับพิมพ์และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์

ชื่อผู้เขียนบทความ./(ปีพิมพ์)./ชื่อบทความ [ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์]./ชื่อวารสาร,/ปีที่//////// (ฉบับที่),/เลขหน้าที่ปรากฎ.(ใช้คำว่า [ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์] สำหรับเอกสารภาษาไทย และคำว่า [Electronic version] สำหรับเอกสารภาษาต่างประเทศ)

บทความในวารสารอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งไม่มีการจัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม

ชื่อผู้แต่ง./(ปีพิมพ์)./ชื่อบทความ./ชื่อวารสาร,/ปีที่/(ฉบับที่),/เลขหน้า-เลขหน้า.
/////////doi:xxxx

บทความที่สืบค้นได้จากวารสารอิเล็กทรอนิกส์

ชื่อผู้แต่ง./(ปีพิมพ์)./ชื่อบทความ./ชื่อวารสาร,/ปีที่/(ฉบับที่),/เลขหน้า-เลขหน้า./URL/////////ของวารสาร

สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ประเภทอื่น ๆ

สารสนเทศประเภทสารานุกรม พจนานุกรม หนังสือคู่มือ

ชื่อผู้เขียนบทความ./(ปีพิมพ์)./ชื่อบทความ./ใน/ชื่อผู้แต่ง (บรรณาธิการ),/ชื่อหนังสือ
////////(ครั้งที่พิมพ์), เลขหน้าที่ปรากฏบทความจากหน้าใดถึงหน้าใด)./สถานที่พิมพ์:/
////////สำนักพิมพ

วิกิ(WIKI)

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. สืบค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2553, จากวิกิพีเดีย
http://th.wikipedia.org/wiki/มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

สารสนเทศประเภท Press Release รายงานประจำปีไฟล์ประเภท PowerPoint, Blog post, Online
Video, Audio Podcast, facebook post, Twitterr post เป็นต้น

ชื่อผู้เขียน/(ปี,เดือน วันที่)./ชื่อเนื้อหา./[รูปแบบสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์]. /Retrieved
//////// from URL หรือเว็บไซต์ของข้อมูล

การเรียงลำดับบรรณานุกรม

เรียงลำดับตามลำดับอักษรตัวแรกของรายการที่ปรากฎ (ก-ฮ, A-Z)

ถ้ามีภาษาอังกฤษกับภาษาไทยให้เรียงแยกกันโดยให้เรียงภาษาไทยมาก่อนเสมอ

ถ้าเรียงงานหลายงานที่มีชื่อผู้แต่งคนแรกเหมือนกัน โดยใช้หลักดังนี้

ให้เรียงรายการที่มีผู้แต่งคนเดียวมาก่อนรายการที่มีหลายคน

ถ้าผู้แต่งคนแรกซ้ำกัน ให้เรียงตามชื่อผู้แต่งคนต่อมา

ถ้าชื่อผู้แต่งเหมือนกัน ให้เรียงตามอักษรของชื่อต้นและชื่อกลาง

เอกสารผู้แต่งที่เป็นสถาบัน สมาคม หน่วยงาน ให้เรียงตามลำดับอักษรตัวแรกของชื่อสถาบันที่สะกดเต็ม โดยเรียงไปทีละลำดับตั้งแต่หน่วยงานใหญ่ไปถงหน่วยงานย่อย

การโจรกรรมทางวรรณกรรม หรือ การขโมยความคิด

การลอกงานเขียน ความคิดหรืองานสร้างสรรค์ดั้งเดิม ทั้งหมดหรืองานบางส่วน มาแอบอ้างเป็นงานของตัวเอง ถือเป็นความไม่สุจริตทางวิชาการ (Academic Dishonesty) หรือการฉ้อฉลทางวิชาการ (Academic Fraud) และผู้ที่กระทำ ผิดจะต้องถูกตำหนิทางวิชาการ (Academic Censuses)

การโจรกรรมทางวรรณกรรมผลงานของตนเอง

การนำเอางานส่วนใหญ่หรืองานเกือบทั้งหมดของตนเองมาเป็นงานใหม่ โดยไม่ชี้แจง ส่วนใหญ่มักเป็นงานตีพิมพ์ซ้ำ (Multiple Publication) ถือเป็นความผิดเช่นกัน

แนวทางหลีกเลี่ยง

แสดงข้อเท็จจริงไว้ทั้งหมดในบทความว่างานใหม่ได้ร่วมงานเดิมไว้ด้วยอย่างไร

ต้องแน่ใจว่าไม่ละเมิดลิขสิทธิของผู้ใด

อ้างอิงงานเดิมไว้ในอ้างอิงหรือบรรณานุกรมท้ายงานใหม่