ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่การใส่ชุดไปรเวทเข้าเรียนของนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
คำถามวิจัย
ปัจจัยใดบ้างที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคชุดไปรเวทไปเรียนของนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์และมีผลมากน้อยเพียงใด
ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
พฤติกรรมเลียนแบบตามสมัยนิยมของนักศึกษา ได้แก่พฤติกรรมเลียนแบบในด้านการแต่งกายการใช้ เครื่องประดับการไว้ทรงผมการใช้ภาษาและกิริยาท่าทางซึ่งนักศึกษามีการเลียนแบบจากสื่อหนังสือนิตยสารเพื่อน และรุ่นพี่ซึ่งเป็นตัวต่อแบบในการมีพฤติกรรมเลียนแบบของนักศึกษาในการเลียนแบบของนักศึกษานักศึกษามีการ เลียนแบบโดยการสังเกตและจัดจําเพื่อทําการลอกเลียนแบบในการมีพฤติกรรมตามสมัยนิยมและเมื่อตัวตนแบบมี การเปลี่ยนแปลงรูปแบบในการมีพฤติกรรมที่นักศึกษาเลียนแบบเปลี่ยนแปลงไปนักศึกษาจะมีการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมของตนเองตามไปด้วยในการมีพฤติกรรมเลียนแบบตามสมัยนิยมของนักศึกษานักศึกษามีการเลียนแบบ เพื่อตอบสนองความต้องการยอมรับจากกลุ่มเพื่อนและต้องการสร้างจุดเด่นให้กับตนเอง
ที่สําคัญคือ การแสดงออกทางร่างกายเป็นด้านหนึ่งของการแสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์ไม่ว่าจะดู สร้างสรรค์หรือไม่ในสายตาผู้ใหญ่ก็ตาม การแต่งกายเป็นการบอกเล่าความคิด ความรู้สึก ความหมาย กระทั่งจิต วิญญาณของผู้สวมใส่ ไม่เช่นนั้นทําไมนักบวช ทหาร ข้าราชการ จึงไม่แต่งกายให้เหมือนไปกันหมดทั้งประเทศเล่า หากเด็กวันนี้ถูกปิดกั้นการแสดงออก ทําให้ไม่สามารถแม้แต่จะบอกได้ว่าตนเองเป็นใคร ผ่านเรือนร่าง ผ่านการแต่งกายของพวกเขา แล้วเราจะคาดหวังให้โตเป็นผู้ใหญ่ทึ่มีความคิดต่อสิ่งต่างๆ ได้อย่างไรเล่า จะ ให้พวกเขาสร้างสรรค ความคิดความอ่านที่ยิ่งใหญรกว่าตัวเขาเองได้อย่างไร
ระเเบียบวิธีวิจัย
การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณเก็บข้อมูลโดยการสํารวจเครื่องมือในการวิจัยคือแบบสอบถามโดยเเบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วน ๆ
ส่วนท่ี 1 ขLอมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม มี 3 ข้อคือ
1)เพศ
2)สํานักวิชา 3)รายได้ต่อเดือน
ส่วนที่ 2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใส่ชุดไปรเวทเข้าเรียน
พึงพอใจมากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย 4.21 - 5.00 พึงพอใจมาก ค่าเฉลี่ย 3.41 - 4.20 พึงพอใจปานกลาง ค่าเฉลี่ย 2.61 - 3.40
พึงพอใจน้อย ค่าเฉลี่ย 1.81 - 2.60 พึงพอใจน้อยที่สุด ค่าเฉลี่ย 1.00 - 1.80
ส่วนที่ 3 สอบถามความพึงพอใจ 3.1 ลดค่าใช้จ่ายในครอบครัว
3.2 ใสรแล้วรู้สึกสบายตัวขึ้น
3.3 ใส่แล้วมีความมั่นใจในตัวเองมากขึ้น
3.4 หาสถานที่ซื้อเสื้อผ้าได้หลายขึ้น
3.5 ทําให้มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยที่ดูทันสมัยขึ้น
นิยามศัพท์
ชุดไปรเวท หมายถึง การสวมชุตธรรมดาทั่วไปแบบไม่เปํนทางการไม่มีกฎบังคับหรือต้องแต่งตามยูนิฟอร์มที่กําหนดเเบ่งเป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ 1. Private Dress ที่หมายถึงชุดส่วนตัว 2.Casual Dress ชุดลําลองชุดไปรเวทมี รากศัพท์มาจากภาษาอังกฤษคําว่า Private Dress ที่หมายถึงขุดส่วนตัว แต่พอเข้ามายังประเทศไทยก็ได้พลิก แพลงและนําคํานี้มาใช่ว่าหมายถึงชุดลําลอง (Casual Dress) ซึ่งหากจะทําให้เข้าใจง่าย ๆ ชุดนี้ก็หมายถึงชุดไม่เป็นทางการแต่งง่าย ๆ สบาย ๆ เหมือนที่ผู้คนทั่วไปใส่อยู่บ้านในชีวิตประจําวัน (ไทยเกอร์นิวส์, 2563)
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ผลการวิจัยที่ได้รับสามารถนําไปต่อยอดโดยการที่เราจะสามารถเข้าใจผู้บริโภคและใช้เป็นแนวทางในการ ปรับปรุงธุรกิจให้ตรงกับความต้องการลักษณะพฤติกรรมของผู้บริโภคและเป็นแนวทางให้ผู้สนใจธุรกิจเสื้อผ้าใช้ในการตัดสินใจในการดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับเสื้อผ้าในมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ความสําคัญและท่ีมาของปัญหา
การแต่งกายชุดไปรเวทไปเรียนของนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ความสําคัญต่อนักศึกษาเป็นอย่างมากในปัจจุบัน
ปัญหาของนักศึกษาคือ การเล็งเห็นว่าการที่จะสวมใส่ชุด ชุดนักศึกษาไปเรียนมีความยุ่งยากในการสวมใส่มาก เพราะมีองค์ประกอบเยอะแยะมากมาย และการที่เลือกใส่ชุดไป รเวทแทนเพราะรู้สึกว่าการใส่ชุดไปรเวทไงผลกระทบอะไรกับการศึกษาซึ่งปัจจัยส่วนใหญ่ของนักศึกษาก็เป็น ความรู้สึกส่วนตัวของนักศึกษาแต่ละคน จึงต้องการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่การบริโภคชุดไปรเวทของนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
วัตถุประสงค์การวิจัย
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต5อการบริโภคชุดไปรเวทไปเรียนของนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลกัษณ
สมมติฐานการวิจัย
ปัจจัยทางสังคมวัฒนธรรมและทางส่วนบุคคล มีผลต่อบริโภคชุดไปรเวทของนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์มาก เพราะมีลักษณะการใช้ชีวิตที่ตรางกัน เช่น รสนิยมทางเสื้อผ้าประเภทต่าง ๆ ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว
ขอบเขตการวิจัย
ประชากรในการศึกษาคือนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สํานักวิชาศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์จํานวน 30 คนและ สํานักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์จํานวน 30 คน