G7_61107736
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
อธิบายลักษณะสำคัญในแต่ละยุคได้
อธิบายความหมายได้
อธิบายจัดการความรู้ได้
คำศัพท์ที่ไม่รู้จัก
Knowledge Society = สังคมความรู้
Definition = คำนิยม
Management = การจัดการ
Knowledge Access = การเข้าถึงความรู้
ICT Connectivity = การเชื่อมต่อ ICT
บทสรูป
นับว่าเป็นสิ่งจำเป็นในสังคมความรู้ผู้ที่มีความสามารถได้ดีจะช่วยให้พัฒนาตนเองให้มีความรู้
บทนำ
สังคมความรู้ เป็นกระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนุนส่งเสริมให้บุคคลหรือสถาชิกในชุมชน ผ่านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งความรู้ องค์ประกอบต่างๆโดยพัฒนาสังคมให้นำไปสู่ความรู้ ที่จะนำไปสู่การพัฒนาต่อไป
เนื้ิอหา
1. นิยามหรือความหมายของความรู้
ความหมาย
เป็นกระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนุนให้บุคคลหรือสมาชิกในสังคมเกิดการเรียนรู้ผ่านสื่อ โดยสร้างสรรค์ให้เครื่องมือตัดสินใจ
2. ยุคของความรู้
แบ่งเป็น 2 ยุค คือ
2.1. ยุคที่1
เป็นสังคมที่มีพลังอำนาจเข้าใจกัน เกิดการผลิตและมีากรแข่งขันทางตลาดและความอยู่รอด
2.2. ยุคที่2
เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียงสมดุล ประชาชนทุกคนมีบทบาทร่วมกันเป็นเจ้าของและมีอิสระ ซึ่งมีลักษณะสำคัญ คือ
สะสมความรู้ภายในสังคม
ถ่ายโอนความรู้
สร้างสรรค์ความรู้ใหม่ๆ
ประยุกต์ใช้ความรู้
3. ลักษณะแห่งการเรียนรู้
ไม่จำกัดขนาดและสถานที่
เน้นการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
ประชาชนได้รับโอกาสในการพัฒนา
สถาบันทางสังคมเป็นตัวหลักในการดำเนินการ
มีประชาชนเป็นแกนกลาง
มีการพัฒนานวัตกรรมและการเรียนรู้
มีหุ่นส่วนดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
มีการริเริ่มและการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้
ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ร่วมกัน
ทุกคนเป็นครูฝึกและผู้เรียน
4. ความรู้
4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับความรู้
บางครั้งไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ซึ่งทั้ง 3 คำมีความหมายสัมพันธ์กันดังนี้
4.1.1. ข้อมูล
ลักษณะที่ยังไม่ได้แปลความ
ข้อลูลดิบ
ข้อมูลเชิงบรรยายและปริมาณ
ความเป็นไปได้หรือข้อเท็จจริง
แบ่งได้ 5 ประเภทดังนี้
ตัวเลข/จำนวน
ตัวอักษรข้อความ
กราฟฟิก
ภาพลักษณ์
เสียง
4.1.2. ความหมายของสารสนเทศ
ข้อมูลมีคุณค่าและประโยชน์
เป็นข้อมูลที่ถูกวิเคราะห์และตีความแล้ว
เป็นแก่นเนื้อหาที่สำคัญ
เป็นการถ่ายทอดข้อมูลความรู้
4.2. ความหมายของความรู้
ส่วนผสมของความรู้เกิดจากการทำงานการไหลเวียนของความรู็สึก จากการตัดสินใจโดยนำมาศึกษา เพื่อหาข้อเท็จจริงและขัดเกรา การใช้สารสนเทศเหล่านั้นให้มีความสัมพันธ์กัน และเข้าใจในเนื้อหา และสามารถนำไปเพิ่มได้อย่างไม่จำกัด
4.3. ประเภทความรู้
ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดมา แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
Tacit knowledge
ความรู้ที่ช่อนอู่ในแต่ละบุคคลเป็นความรู้ที่ได้มาจากประสบการณ์
Explicit Knowledge
ความเด่นชัดเป็นความรู้ที่รวบรวมผ่านวิธีการต่างๆ เช่น ฐานข้อมูล
ระบบเชี่ยวชาญ รายงาน ทฤษฏี
5. กระบวนการจัดการความรู้
1.การบ่งชี้ความรู้ให้ทะลุเป้าหมาย
2.การสร้างและแสวงหาความร
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้
5.การเข้าถึงความรู้
6.การจัดการความรู้ในองค์กรและการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
7.การเรียนรู้ ควรท าให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน