knowledge scoiety
knowledge Society Era
สังคมความรู้ยุคที่1
1.2 knowledge validation
1.3 knowledge validation
1.4 knowledge optimization
1.5 knowledge dissemination
สังคมความรู้ยุคที่2
2.1มีการสะสมความรู้ในสังคม
2.2มีการถ่ายทอดโอนภายในสังคม
2.3มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม
2.4มีการประยุกค์มาใช้ในสังคม
ความรู้
data
กลุ่มของสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความภาพ และเสียงที่ยังไม่ผ่านการปรัะมวลผล วิเคราะห์หรือสังเคราะห์เพื่อนำไปใช้ประโยชน์
Information
ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆที่ผ่านการประมวลผลแล้วนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยสารสนเทศนั้นบันทึกไว้ในรูปวัสดุตีพิมพ์
ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้
3.1 ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง
3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
3.3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา
3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม
3.5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลางเพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
3.6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
3.7มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง
3.8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
3.9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
3.10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
3.11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
Process Of Knowledge
การบ่งชี้ความรู้
การสร้างและแสวงหาความรู้
การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
การประมวลและกรั่นกรองความรู้
การเข้าถึงความรู้
การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
การเรียนรู้