รายงานเคสกรณีศึกษา(interesting case)
เคสชายไทย อายุ 80 ปี chief complaint:ล้ม 30 นาทีก่อนมา ศรีษะกระแทรกพื้น + มีเเผล ปวดสะโพกขวาลุกเดินไม่ไหว
การวินิจฉัยเเรกรับ: closed fracture intertrochanteric (กระดูกหักและะข้อเคลื่อนหลุดของสะโพก)
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อผู้ป่วย นายเกสร จันทรเสนา เพศ ชาย อายุ 80 ปี เตียง 15 หอผู้ป่วย joint unit ชั้น 4 โรงพยาบาลอุดรธานี
สถานภาพ สมรส อาชีพ ไม่มี ภูมิลำเนา จังหวัดอุดรธานี
นับถือศาสนา พุทธ รายได้ 40,000-50,000 บาท / เดือน
วันที่รับไว้ในความดูแล 26 กุมภาพันธ์ 2568
การวินิจฉัยโรคแรกรับ Closed fracture right intertrochanteric (กระดูกหักและข้อเลื่อนหลุดของสะโพกและต้นขา)
แหล่งข้อมูล: ผู้ป่วย และแฟ้มประวัติ
CC: ล้ม ศรีษะกระแทรกพื้น+มีเเผล ปวดสะโพกขวาลุกเดินไม่ได้
ข้อวินิฉัยที่ 4 ผู้ป่วยมีโอกาสต่อภาวะแทรกซ้อนจากภาวะซีด
วัตถุประสงค์
ไม่มีภาวะเเทรกซ้อนจากภาวะซีด
เกณฑ์การประเมิน :
1.ไม่มีอากอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย เวียนศีรษะ
2.ไม่มีผิวหนังซีด เยื่อบุตาและริมฝีปากซีด
3.ค่าHemoglobin(Hb)(ค่าปกติชาย: 14 - 18 g/dL)
Hematocrit (Hct)(ค่าปกติชาย: 42 - 52%)
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง (ชีพจร, อัตราการหายใจ, ความดันโลหิต)
2.ตรวจระดับออกซิเจนในเลือด (SpO2)
3.จัดท่านอนศีรษะสูง เพื่อช่วยให้ปอดขยายตัวได้ดี
4.ส่งเสริมให้ผู้ป่วยพักผ่อน ลดกิจกรรมที่ใช้พลังงานสูง
5.นัดติดตามผลตรวจเลือด และติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
ข้อมูลสนับสนุน
Subjective Data
-
Objective Data
Hematocrit 36.5 %
Hemoglobin12.0 g/dl
RBC3.81 cells/μL
เเบบเเผนที่ 2
การตรวจร่างกายเเละการสังเกต
น้ำหลัก 44 กก. ส่วนสูง 173 ซม. BMI 14.7 kg/m2
ผิวหนังเเห้วย้น มีฟัน 14 ซี่
ขณะเจ็บป่วย
ผู้ป่วยใส่สายยางให้อาหารสามารถรับ feed ได้
ตรวจดูพบปริมาณ gastric content
ผู้ป่วยรับประทานได้น้อยกลืนลำบาก
ข้อวินิฉัยที่ 2 ผู้ป่วยมีภาวะทุพโภชนาการเนื่องจากในมีปัณหาจาการเคี้ยวเเละกลืนลำบาก
ข้อมูลสนับสนุน
Subjective Data
Objective Data
วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหาที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
เกณฑ์การประเมิน :
1.ค่าดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม 18.5-25 kg/m2
2.ผู้ป่วยได้รับสารอาหารครบทุกมื้อ
3.ไม่มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน สำลัก ท้องเสีย หรือมีเลือดออกในทาง เดินอาหาร
4. มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น อย่างน้อย 1/2 กิโลกรัม/สัปดาห์
5. Hb มากกว่า 12.0 gm% Hct มากกว่า 36%
กิจกรรมการพยาบาล
1. ดูแลให้อาหารทางสายยาง ให้ ถูกต้อง ครบถ้วนตามแผนการ รักษา คือ อาหาร Blenderized 5 มื้อๆ ละ 400 ซีซี เพิ่มไข่ขาว วันละ 3 ฟอง
2. ดูดเสมหะก่อนให้อาหาร ทุกครั้ง เพื่อป้องกันผู้ป่วยไอ สำลัก ขณะให้อาหาร
3. จัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงก่อน ให้อาหารและหลังอาหารประมาณ ครึ่งชั่วโมง เพื่อป้องกันการสำลัก อาหารได้ง่าย
4. ดูแลความสะอาดของอาหาร เครื่องใช้ในการให้อาหาร รวมทั้ง วิธีการให้อาหารที่ถูกต้องเพื่อป้องกันอาการท้องเสีย
5. หากมีปัญหาอาหารค้างใน กระเพาะอาหารจำนวนมาก (เกิน 50 ซีซี) หรือมีเลือดออกใน ทางเดินอาหารให้รายงานแพทย์ ทราบ
6.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและ อิเลกโทรไลต์ทางเส้นเลือดดำให้ ถูกต้องตามแผนการรักษา
7.ให้ยาวิตามินบีรวมและยาธาตุ เหล็กอย่างครบถ้วน
8. ให้เลือดตามแผนการรักษาและ สังเกตอาการแทรกซ้อนจากการ ให้เลือดอย่างใกล้ชิด
ข้อวินิจฉัยที่ 6 เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการ ดึงถ่วงน้ำหนัก Skin traction เช่น แผลกดทับ (pressuresore) ข้อติดแข็ง (jointstiffness) กล้ามเนื้อลีบ(muscle atrophy)
ข้อมูลสนับสนุน
Subjective Data
ผู้ป่วยบอกว่าไม่เข้าใจการปฏิบัติตัว
Objective Data
- ผู้ป่วยชอบนอนตามสบาย ไม่ถูกท่าของการใส่ skin trac-tion
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 8
ผู้ป่วยและญาติวิตกกังวลเกี่ยวกับภาวะการเจ็บป่วยที่รุนแรง
ข้อมูลสนับสนุน
Subjective Data
ญาติบอกว่ากังวลมากกลัวผู้ป่วยจะไม่หาย เพราะผู้ป่วยไม่เคยป่วยหนักขนาดนี้
Objective Data
-ผู้ป่วยมีสีหน้าแววตา ท่าทางกังวล
-ญาติมีสีหน้าวิตกกังวล สอบถามว่าคุณตาสามารถหายจากอาการที่เป็นอยู่มั้ย
วัตถุประสงค์ : ผู้ป่วยและญาติสามารถปรับตัวเผชิญต่อภาวะการเจ็บป่วยได้ดี
เกณฑ์การประเมิน :
- ผู้ป่วยมีสีหน้า แววตา ท่าทางที่ผ่อนคลายไม่ตึงเครียด
- ไม่มีอาการกระสับกระส่าย
- ญาติมีจิตใจที่ผ่อนคลายขึ้น สามารถปรับตัวรับมือกับการเจ็บป่วยได้
กิจกรรมการพยาบาล
1.พยาบาลสร้างสัมพันธภาพที่ดีพูดคุยด้วยท่าทางที่อ่อนโยน ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวลให้ผู้ป่วยไว้วางใจและเชื่อมั่นในการพยาบาล แนะนำเจ้าหน้าที่ในทีมสุขภาพให้แก่ผู้ป่วยและญาติ
2. อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงภาวะที่ผู้ป่วยเผชิญอยู่ เช่นหายใจหอบเหนื่อย เสมหะจำนวนมากให้เข้าใจถึงการดำเนินของโรค ขั้นตอนการรักษาพยาบาล การตรวจวินิจฉัยต่างๆ อธิบายให้ทราบถึงเครื่องมือที่ผู้ป่วยจำเป็นต้องใช้ ให้ทราบถึงประโยชน์และผลของการได้รับ
3. เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและญาติได้ซักถามเกี่ยวกับปัญหา สิ่งที่กังวลใจรับฟังปัญหาของผู้ป่วย ด้วยความตั้งใจ เข้าใจยอมรับพฤติกรรมก้าวร้าวของผู้ป่วยด้วยท่าทางที่เป็นมิตร แสดงออกให้ทราบว่าพยาบาลเข้าใจความรู้สึกกังวลของผู้ป่วยและญาติ ไม่ละเลยต่อความเครียดและความ วิตกกังวลของผู้ป่วย ให้ข้อมูลที่ญาติสงสัย จัดสถานที่ให้ญาติร่วมปรึกษากับแพทย์ อำนวยความสะดวกตามความเหมาะสม
4. ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด สัมผัสผู้ป่วยด้วยท่าทีที่อบอุ่นเป็นมิตร บอกให้ผู้ป่วยรู้ว่าให้การ ช่วยเหลืออย่างเต็มที่เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัย
5. อธิบายสิ่งที่ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติเพื่อดูแลตนเองในขณะที่ผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจ แนะนำให้ผู้ป่วยรู้จักวิธีติดต่อสื่อสาร เช่นการใช้มือทำสัญลักษณ์ต่างๆที่สามารถสื่อสารให้เข้าใจตรงกันได้
6.ให้ญาติที่ผู้ป่วยต้องการให้เยี่ยมเข้าเยี่ยม เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความอุ่นใจ มีกำลังใจ อธิบายให้ทราบถึงความก้าวหน้าในการรักษาพยาบาล
แบบแผนที่ 10
ผู้ป่วยเเละญาติดูสีหน้าท่าทางดูกังวนกับการเจ็บป่วยครั้งนี้
ทฤษฎี
พยาธิสภาพ
เนื้อเยื่อปอดถูกทำลายทำให้ปอดเสียความยืดหยุ่น (clastic recoil) ในขณะเดียวกันหลอดเลือดฝอยและถุงลมในปอดก็ถูกทำลายด้วย ผลที่ตามมาคือ ลมดั่งในถุงลมมีการทำลายของเนื้อ เยื่อปอด ต่อมผลิตเยื่อมูกโตขึ้น และมีการสร้างเยื่อมูกมากขึ้นทำให้มีเสมหะมาก มีการอักเสบเรื้อรังและเกิดพังผืด
จะเกิดแรงต้านภายในหลอขยายเพิ่มมากขึ้น ส่งผลต่อการทำงานของหัวใจและอาจส่งผลให้เกิดภาวะหัวใจชีกขวาล้มเหลวและจะมีอาการเฉียบพลันเมื่อมีสิ่งกระตุ้นมากเกินที่ปอดจะกำจัดได้ร่วมกับไม่รับประทานยาต่อเนื่องทำให้มีการอักเสบและมีการสร้างมูกเพิ่มขึ้นทำให้การแลกเปลี่ยนแก๊สลดลงส่งผลต่อระบบต่างๆ
อาการและอาการแสดง
อาการบวมทั่วตัวร่วมด้วย โดยเฉพาะบริเวณชา2 ข้าง
ใช้กล้ามเนื้อช่วยหายใจ มี
เสียงwheezingหรือcrepitation
หายใจล้มเหลวร่วมด้วย จะมีอาการสับสน
หายใจเหนื่อยหอบไอมีเสมหะ เหนียวขัน
ข้อวินิจฉัยที่ 1
มีภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากพื้นที่แลกเปลี่ยนก๊าซลดลงจากพยาธิสภาพของโรค COPD
ข้อมูลสนับสนุน
Subjective Data
ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวเป็น COPD
Objective Data
- มีภาวะอาการเสดงของโรคCOPD
- oxygen sat < 90 %
-HGB 12.0 g/dl
(21/02/2568)
- HCT 36.5 %
(21/02/2568)
วัตถุประสงค์ : ผู้ป่วยไม่มีภาวะพร่องออกซิเจน
เกณฑ์การประเมิน :
1.สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
2.ผู้ป่วยไม่มีอาการพร่องออกซิเจนคือมีอาการหอบเหนื่อยหายใจมีเสียงหวีดหายใจถี่ หรือหายใจลำบากปีกจมูกบาน ต้องนั่งหายใจ การหายใจเร็วหรือช้ากว่าปกติกล้ามเนื้อซี่โครงไหล่ ช่วยในการ หรือมีภาวะ Hypoxia cyanosis
3.ชีพจรอยู่ที่ 60-100 ครั้ง/นาที oxygen saturation keep 95%
4. CXR normal
5.ผลตรวจ CBC Hemoglobin อยู่ที่ 13.5-17.4 g/dL Hematocrit อยู่ที่
38-50 %
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน ประเมินอัตราการหายใจ ชีพจร สีของเล็บปลายมือปลายเท้า เยื่อบุผิวลักษณะการซีด เขียว
2. ประเมินสัญญาณชีพ อาการและอาการแสดงโดยเฉพาะลักษณะการหายใจ และระดับความรู้สึกตัว และ O2 sat ทุก 1 ชั่วโมง เมื่ออาการคงที่ปรับเป็นทุก 4 ชั่วโมง
3. จัดท่านอนผู้ป่วยใน high fowler's position เพื่อให้กล้ามเนื้อหน้าท้องหย่อนตัว ปอดขยายตัวได้ดีขึ้นเพิ่มพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซ
4. ดูแลให้ได้รับ On O2 Cannula 3 LPM ไม่ควรให้เกิน 3 LPM เพราะหากให้มากกว่าการแลกเปลี่ยแก๊สจะไม่เพียงพอตามแผนการรักษาของแพทย์
5.หากจำเป็นต้องให้ออกซิเจนมากกว่า 3 ลิตร/นาที ควรใช้ Venturi Mask ซึ่งสามารถควบคุมความเข้มข้นของออกซิเจนได้แม่นยำ (24-28%) เพื่อให้ปอดได้แลกเปลี่ยนก๊าซได้เต็มที่
6. รายงานแพทย์เมื่อ เหนื่อยหอบมากขึ้น และO2 sat มีแนวโน้มลดลง
7.ดูแลให้ยาพ่น ตามแผนการรักษาของแพทย์
8. ติดตามผล lab การตรวจ x-ray ผลการตรวจเลือด และผลการตรวจ sputum ตามแผนการรักษาของ แพทย์
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 3
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการภาวะลิ่ม เลือดอุดหลอดเลือดดำ (Deep vein Thrombosis )
ข้อมูลสนับสนุน
Subjective Data
ผู้ป่วยว่าไม่ค่อยได้ขยับร่างกายเพราะผู้ป่วยบ่นเหนื่อย
Objective Data
-On skin traction ขาข้างซ้าย
-ไม่ค่อยขยับตัวน้อย
วัตถุประสงค์ : ผู้ป่วยไม่เกิด ภาวะหลอดเลือดดำ ส่วนลึกอุดตัน(deepvein thrombosis)
เกณฑ์การประเมิน :
- ขาทั้ง 2 ข้างไม่มีอาการบวม ตึง อุ่น แดง ร้อน ซีด
- คล้ำ Dorsalis pedis pulse และ Posterior tibial
artery pulse ได้
กิจกรรมการพยาบาล
1. ประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหลอดเลือดดำ ส่วนลึกอุดตัน
2. ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะหลอดเลือด ดำส่วนลึกอุดตันทุก 8 ชั่วโมง ได้แก่ ขาบวมข้างเดียว (unilat-eral leg swelling) ปวดที่ขาข้างเดียว Homan's sign แสดงผลบวก ผิวหนังแดงและอุณหภูมิที่ ผิวหนังสูงขึ้น สังเกตเห็นหลอดเลือดดำที่อยู่ในชั้นใต้ ผิวหนังได้ชัดขึ้น' และสอบถามอาการปวดน่อง ชา หรือ เป็นตะคริว อาการกดเจ็บบริเวณน่องหรือขาหนีบ ทุกเวร
3. วัดเส้นรอบวงต้นขาและน่อง ทุกวันวันละ 1 ครั้ง ถ้า พบว่า กระตุ้นให้ดื่มน้ำ 2000มิลลิตรต่อวัน เพื่อเพิ่ม การไหลเวียนโลหิต
4. กรณีไม่มีข้อห้ามต่อการขยับข้อ กระตุ้นให้ผู้ป่วยออก กำลังกายชนิดคงพิสัยข้อแบบทำด้วยตนเอง (active range of motion) หรือให้ผู้อื่นช่วยบางส่วน (active assistive ROM)โดยใช้ท่ากระดกข้อเข่าขึ้นลง (ankle pump) การหมุน ข้อเท้า (ankle cycle) และเลื่อนเท้าขึ้นลงบนเตียง (ankle slide) อย่าง น้อยท่าละ 15 ครั้ง 2 รอบต่อวัน กรณีผู้ป่วยสามารถลุกขึ้นยืนเดินเองได้ ควรแนะนำให้ลุก ออกจากเตียง แล้วเริ่มยืนเดินให้เร็ว ที่สุด"
แบบแผนที่ 3
ผู้ป่วยใส่สายสวนปัญสวะ
ปัญสวะ สีเหลืองใสไม่มีตะกอน
อุจจระ น้อยกว่า 3 ครั้งต่อสัปดาห์ เคยสวนอุจจระ 1 ครั้ง
การตรวจ
บริเวณท้องตึงเเข็ง กดไม่เจ็บ
คำไม่พบก้อน bowel sound อัตตราสม่ำเสมอ 7-8 ครั้งต่อนาที
ข้อวินิจฉัยที่ 5
ไม่สุขสบาย เนื่องจากมีอาการท้องอืดมาก
ข้อมูลสนับสนุน
Subjective Data
-
Objective Data
-หน้าท้องตึงแข็ง
- Bowel sound อัตราไม่สม่ำเสมอ 7-8 ครั้ง/นาที
-ปริมาณ gastric content ผู้ป่วยมีแก๊สในกระเพาะอาหาร 100 cc
วัตถุประสงค์ : ผู้ป่วยไม่มีอาการท้องอืด
เกณฑ์การประเมิน :
- Bowel sound อัตราไม่สม่ำเสมอ 5-10 ครั้ง/นาที
- ไม่พบแก๊สในกระเพาะอาหาร
- บริเวณหน้าท้องนุ่ม ไม่ตึงแข็ง ไม่มีอาการกดเจ็บ
กิจกรรมการพยาบาล
1. ประเมินอาการท้องอืดของผู้ป่วย เช่น ระดับความแน่นท้อง, ความถี่ของการเรอหรือผายลม, เสียงลำไส้ เพื่อระบุความรุนแรงของอาการและหาสาเหตุที่เป็นไปได้ในการแก้ไข
2.กระตุ้นให้ผู้ป่วยขยับร่างกายและปรับศีรษะสูง
30-45 องศา ประมาณ 15-30 นาที หลังรับประทานอาหาร เนื่องจากการเคลื่อนไหวช่วยกระตุ้นการทำงานของลำไส้ ลดการสะสมของแก๊ส
3.ให้คำแนะนำเกี่ยวกับอาหารที่ควรหลีกเลี่ยง เช่น อาหารที่ก่อให้เกิดแก๊ส (ถั่ว, น้ำอัดลม, อาหารมัน), อาหารที่ย่อยยาก เนื่องจากลดการเกิดแก๊สในระบบทางเดินอาหาร ป้องกันอาการท้องอืดซ้ำ
4.เปิดสาย NG ให้สามารถระบายแก๊สได้ โดยใช้ Syringe ปล่อยลมออก เนื่องจากช่วยลดแรงดันในกระเพาะอาหารและบรรเทาอาการแน่นท้อง
5.กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ำให้เพียงพอ อย่างน้อย 6-8 แก้วต่อวัน เนื่องจากน้ำช่วยทำให้อุจจาระนิ่ม ลดโอกาสการเกิดท้องผูกที่อาจทำให้ท้องอืดรุนแรงขึ้น
6..สอนเทคนิคการนวดหน้าท้องเบา ๆ ตามเข็มนาฬิกา เนื่องจากช่วยกระตุ้นการเคลื่อนไหวของลำไส้ ลดอาการแน่นท้อง
แบบแผนที่ 4
การรับประทานอาหาร การอาบนํ้า การขับถ่ายการเคลื่อนไหวร่างกายทั่วไป
กิจกรรม อยู่ในระดับ 2 คือ ต้องได้รับความช่วยเหลือจากบุคคลท่านอื่น
-กิจกรรมที่ทำในเวลาว่าง นอนพักผ่อน ดูโทรทัศน์
-การออกกำลังกาย
ข้อวินิจฉัยที่ 7
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อน เนื่องจากมีการเคลื่อนไหวลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
Subjective Data
ผู้ป่วยขับถ่ายอุจาระ น้อยกว่า3 ครั้งต่อสัปดาห์
ผู้ป่วยเคลื่อนไหวร่างกายได้น้อยเนื่องจาก ปวดต้นขาซ้าย on SkinTraction ขาซ้าย
Objective Data
-
วัตถุประสงค์ : ไม่มีอาการท้องผูก ไม่เกิดแผลกดทับ ไม่มีอาการข้อติด
เกณฑ์การประเมิน :
1.ผิวหนังไม่มีรอยแดงไม่เกิดการฉีกขาดของผิวหนังหรือแผลถลอก
2. ผิวหนังชุ่มชื้นและมีความยืดหยุ่นดี
3. ข้อต่างๆไม่เกิดการติดยึดสามารถเคลื่อนไหวได้ตามขอบเขตการเคลื่อนไหวของแขนขา
4. ขับถ่ายอุจจาระได้ตามปกติ.ลักษณะอุจจาระปกติไม่เป็นก้อนแห้ง แข็ง
5. ขับถ่ายอุจจาระได้ทุกมากกว่า3ครั้งต่อสัปดาห์
6.ไม่มีอาการท้องอืด ปวดแน่นท้อน้ำรับอาหารตาม
กิจกรรมการพยาบาล
1. ดูแล perinem ให้สะอาดอยู่เสมอ ดูแลผ้าปูที่นอนให้สะอาดแห้งและเรียบตึงอยู่เสมออาจเสริมที่นอนฟองน้ำหรือที่นอนลม (Apha-
bed)ให้ผู้ป่วยเพื่อช่วยกระจายแรงกดทับไม่ให้กดผิวหนังบริเวณหนึ่งบริเวณใดมากเกินไป
2. ดูแลและสอนญาติให้นวดหลังและผิวหนังบริเวณที่มีปุ่มกระดูกเพื่อกระตุ้นการไหลเวียนโลหิต ถ้าผิวหนังแห้งให้ทาน้ำมันหรือโลชั่น ช่วยให้ผิวหนังมีความชุ่มขึ้นขึ้น
3.พลิกตะแดงตัวอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง การเลื่อนตัวผู้ป่วยขึ้นหัวเตียงการพลิกตะแดงตัวผู้ป่วยควรทำด้วยความนุ่มนวลไม่ควรให้ผิวหนังดูเสียดสีกับที่นอนเพราะจะทำให้เกิดแผลถลอกได้ง่าย
4.ดูแลส่วนต่างๆ ของร่างกายให้อยู่ในท่าที่ถูกต้องโดยใช้เครื่องช่วย เช่น ใช้หมอนรอง
5.บริหารข้อต่างๆ กระดกข้อเท้า เหยียดแขนขา 10-15 ครั้ง
6.กระตุ้นให้ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว และกระตุ้นให้รับประทานผักและผลไม้ให้มาก ๆโดยสร้างความตระหนักถึงโทษของการเกิดท้องผูก
7. ดูแลให้ได้รับยาระบายหรือสวนอุจจาระเมื่อจำเป็นตามแผนการรักษา
8. สังเกตความถี่ปริมาณ และลักษณะอุจจาระที่ขับถ่ายออกมา
การสังเกตการตรวจร่างกาย
muscle power grade 4
หายใจใช้เเรงมาก
on cannula 2 lpm
ผิวหนังเย็นซีด
บริเวณ coccyx เป็นแผลกดทับระดับ 2
v/s bt 36.7 c pr 118 ต่อนาที rr 18 ครั้ง/นาที bp 131/78 mmHg o2sat 94-96 %
ความดันเลือดสูงหรือต่ำ
กว่าปกติชีพงรเต้นเร็ว
วัตถุประสงค์ : ป้องกันอาการแทรกซ้อนและส่งเสริมการใส่ Skin traction ให้มีประสิทธิภาพ
เกณฑ์การประเมิน :
1.การทำงานของ skin traction ถูกต้อง
2.ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการ ใส่ skin traction
3.ผิวหนังไม่มีรอยแดง
4.กล้ามเนื้อไม่เหี่ยวลีบ
กิจกรรมการพยาบาล
1. แนะนำให้ผู้ป่วยตระหนักถึงความจำเป็นในการดึงถ่วงน้ำหนักและความสำคัญของการจัดท่านอนผู้ป่วยให้ถูกต้องเพื่อให้ผู้ป่วยให้ความร่วมมือ เช่นนอนให้ขากางออก (abduction)เล็กน้อย ลำตัวและขาเป็นแนวเดียวกับน้ำหนักที่ถ่วง
2. ดูแลการดึงถ่วงน้ำหนักให้มีประสิทธิภาพ ได้แก่ ไม่ยกตุ้มน้ำหนักออกโดยไม่จำเป็น ตรวจเชือกที่ดึงถ่วงน้ำหนักให้ตึงและตุ้มถ่วงน้ำหนักต้องขอบเตียงหรือติดพื้น และไม่แกว่งแขวนลอยอย่างอิสระไม่ติดกับไปมา
3. ดูแลให้ Elastic bandage ที่พันไม่แน่นหรือหลวมเกินไป
4.หมั่นตรวจผิวหนังบริเวณที่พันElastic bandage เพราะผู้ป่วยอาจแพ้ผ้าพัน (Adhesive plaster) ได้ กดทับหรือบริเวณที่มีปุ่มกระดูก
5. ประเมินการถูกกดของเส้นประสาทหากพบให้รายงานแพทย์
6. กระตุ้นให้ผู้ป่วยออกกำลังกล้ามเนื้อและเคลื่อนไหวข้อต่างๆ (ROM)