สังคมความรู้(knowledge)
2.ยุคของสังคมความรู้
(knowledge society Era)
ยุคที่1
knowledge access
การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีต่างๆเช่น ทางอินเตอร์เน็ต
knowledge Validation
การประเมินความถูกต้องของความรู้
knowledge Valuation
การตีค่า การตีความรู้
knowledge Optimization
การที่ความรู้ให้ง่ายที่จะนำมาใช้ การนำความรู้ออกมาเป็นกฏเกณฑ์
knowledge Dissemination
การกระจายความรู้
ยุคที่2
ลักษณะสำคัญของความรู้ยุคที่2
มีการสะสมความรู้ภายในสังคม
มีการถ่ายโอนความรู้ภายในสังคม
มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม
มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม
3.ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้
1.เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นหลัก
2.สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการเริ่ม
3.พัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
4.การเริ่ม/เปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
5.ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
6.ไม่จำกัดขนาดและที่ตั้ง
7.ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา
8.มีกลุ่มประชาชนเป็นแกนกลาง
9.มีเครือข่ายดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
10.สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
11.ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
1.นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้
(difinition of knowledge society)
คือ สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารเทศ จากความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะและความรู้
4.ความรู้
(knowledge)
4.1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับความรู้
ความหมายของข้อมูล
คือ สัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความ
ภาพ และเสียงที่ยังไม่ผ่านการประมวลผล วิเคราัะห์
เพื่อนำไปใช้ประโยชน์
ความหมายของสารสนเทศ
คือ ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้ว
และสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ สารสนเทศนั้นบันทึกใว้
ในรูปแบบของวัสดุตีพิมพ์
4.2ความหมายของความรู้
ความรู้คือความเข้าใจในเรื่องบางเรื่องหรือสิ่งบางสิ่ง ซึ่งอาจรวมไปถึงความ
สามารถในการนำสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ อาศัยกระบวนการที่
แปรผลมาจากข้อมูล สารสนเทศ ประสบการณ์ต่างๆที่สะสมในอดีตและ
สามารถเพิ่มขึ้นได้อย่างไม่จำกัดในอนาคต
ประเภทรูปแบบความรู้
1.Tacit knowledge
2.expicit knowledge
1.ความรู้เกี่ยวกับรอบตัวเรา
2.ความรู้ด้านภาษา
3.ความรู้ด้านวิชาการ
4.ความรู้ใหม่
5.กระบวนการจัดความรู้
(Process of knowledge)
1. การบ่งชี้ความรู้
เป็นการพิจารณาว่าทำอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย
2.การสร้างและแสงหาความรู้
สามารถทำได้หลายอย่าง
เช่น สร้างความรู้ใหม่ หาความรู้จากภายนอก
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
เป็นการวางโครงสร้างความรู้
4.การประมวลกลั่นกรองความรู้
เช่น การปรับปรุงรูปแบบเอกสาร
ให้เป็นมาตราฐานใช้ภาษาเดียวกัน
5.การเข้าถึงความรู้
เป็นการทำให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการ
ได้ง่ายและสะดวก
6.การจัดความรู้ในองค์กรความรู้
7.การเรียนรู้