Knowledge society สังคมความรู้

r

lkpo

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง

เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก

ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)

สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ (Key Institutions)

มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน

มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้

มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา

สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้

ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน

ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

ยุคของสังคมความรู้

สังคมความรู้ยุคที่ 1

c1

Knowledge Access

คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ

Knowledge Validation

คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้ บอกว่าความรู้นั้นถูกต้องหรือไม่

Knowledge Valuation

คือ การตีค่า การตีความรู้ ว่าเมื่อมีการใช้ความรู้นั้นแล้วมี
ความคุ้มค่าหรือไม่

Knowledge Optimization

การนำความรู้ออกมาหรือทำความรู้ให้ง่าย

Knowledge Dissemination

คือ การกระจายความรู้ ซึ่งความรู้ไม่ได้มีไว้ใช้เพียง
อย่างเดียว แต่ความรู้น ามาสร้างเป็นพลังได้

สังคมความรู้ยุคที่ 2

c2

ีการสะสมความรู้ภายในสังคม

มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม

มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม

นิยาม

สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง

ความรู้ (Knowledge)

ความหมายของข้อมูล

คือ กลุ่มของสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความ ภาพ และเสียงที่ยังไม่ผ่านกระบวนการประมวลผล วิเคราะห์หรือสังเคราะห์เพื่อนำไปใช้ประโยชน์

ประเภทข้อมูล

Numeric Data เป็นข้อมูลตัวเลข

Text Data เป็นข้อมูลที่ไม่สามารถนำมาคำนวณได้

Graphical Data เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างภาพกราฟิก

Image Data เป็นข้อมูลที่เกิดจากการถ่ายภาพกล้องดิจิตอล หรือการสแกนเอกสารด้วยเครื่องสแกนเนอร์และไม่สามารถนำไปคำนวณได้

Voice Date คือ เสียงต่างๆ

ความหมายของสารสนเทศ (Information)

หมายถึง ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยสารสนเทศนั้นบันทึกไว้ในรูปแบบของวัสดุตีพิมพ์ และวัสดุไม่ตีพิมพ์

ความหมายความรู้

หมายถึง ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่งบางสิ่ง ซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการนำสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ โดยอาศัยกระบวนการที่แปรผลมาจากข้อมูล สารสนเทศ การศึกษา ประสบการณ์ต่างๆ ที่สะสมในอดีต และสามารถเพิ่มขึ้นได้อย่างไม่จำกัดในอนาคต

ประเภทความรู้

Tacit Knowledge

c1

Explicit Knowledge

c1

กระบวนการจัดการความรู้

การบ่งชี้ความรู้

การสร้างและแสวงหาความรู้

การจัดความรู้ให้เป็นระบบ

การประมวลและกลั่นกรองความรู้

การเข้าถึงความรู้

การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้

การเรียนรู้ ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน

คือ การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้ เช่น การทำคู่มือต่างๆ