กระบวนการจัดการความรู้ั

ยุคของสังคมความรู้(Knowledge Society Era)

ยุคเเรก ป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มี
ความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด นักวิชาการจะมีบทบาทสำคัญในดการจัดการความรู้

ยุคที่สอง2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุก
ภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ และเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง มีความเป็นอิสระ และ
พึ่งตนเอง นักวิชาการ นักวิชาชีพมีบทบาทเป็น Knowledge Broker

ลักษณะของสังคมเเห่งการเรียนรู้

1. ไม่จำากัดขนาดและสถานที่ตั้ง

2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก

3ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)

4สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ด าเนินการ (Key Institutions)

.5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน

6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้

7มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง

8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา

9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้

10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน

11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน1

ความรู้ (Knowledge)

1 ความหมายของข้อมูล Data กลุ่มของสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความ
ภาพ และเสียงที่ยังไม่ผ่านกระบวนการประมวลผล วิเคราะห์หรือสังเคราะห์เพื่อน าไปใช้ประโยชน์
)

2ความหมายของสารสนเทศ (Information) ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่ง
บางสิ่ง ซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการน าสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ โดยอาศัยกระบวนการที่แปรผลมาจากข้อมูล สารสนเทศ การศึกษา ประสบการณ์ต่างๆ ที่สะสมในอดีต และ
สามารถเพิ่มขึ้นได้อย่างไม่จ ากัดในอนาคต

2 ความหมายของสารสนเทศ (Information)

นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้

นิยามที่สองกระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนุนกันส่งเสริมสมาชิกในชุมชนหรือสังคมเรียนรู้ผ่านสื่อเทคโนโลยี สารสนเทสเเละสามรถนำมาถ่ายทอดเเละปรับใช้ในชีวิตประจำวัน

นิยามเเรก สังคมที่เข้าถึงเเละใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้บุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะเเละความรู้สูง

กระบวนการที่ช่วยให้เกิดการพัฒนาของความรู้หรือการจัดการความรู้ที่จะเกิดขึ้นภายในองค์กร

การบ่งชี้ความรู้

การสร้างเเละเเสวงหาความรู้

การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ

การประมวลเเละกรั่นกรองความรู้

การเข้าถึงความรู้

การจัดการความรู้ในองค์กร

การเรียนรู้