knowwledge society
นิยาม
สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศ
ยุคของสังคมความรู้
สังคมที่ 1
การกระจายความรู้
การที่ความรู้ทำให้ง่ายต่อการใช้งาน
การประเมินความถ฿กต้องของความรู้
สังคมยุค 2
มีการถ่ายโอนความรู้ทางสังคม
มีการสะสมความรู้ทางสังคม
กระบวนการจัดการความรู้
การบ่งชี้ความรู้
การสร้างและแสวงหาความรู้
การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ
การประมวลและกลั่นกรองความรู้
การเข้าถึงความรู้
การจัดการความรู้ในองค์กร
การเรียนรู้
ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้
ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง
เน้นการจัดการการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
ประชาชนได้รับโอกาสพัฒนา
สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเดินการ
มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง
มีการพัมนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
มีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
มีการริ่เริ่มและการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
ความรู้
ความรู้ทั่วไป
ความหมายของข้อมูล
กลุ่มของสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความ
ความหมายของสาระสนเทศ
ความรู้ที่ประมวลแล้ว
ข้อมูลข่าวสาร ข้อเท็จจริง
เช่น หนังสือ แผ่นพับ
ความหมายของความรู้
ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง
กระบวนการแปรผลมาจากข้อมูล
ประเภทรูปแบบความรู้
Tacit Knowledge
ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคล
เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์
Explicit Knowledge
ความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอได้
ความรู้ที่เด่นชัดหรื่อความรู้ที่บันทึกไว้