การสือค้นสารสนเทศความรู้

1.นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้

สังคมความรู็หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูงจากความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง

2.ยุคของสังคมความรู้

2.1 สังคมความรู้ยุคที่ 1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอ านาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มี
ความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด ในยุคนี้นักวิชาการหรือนักวิชาชีพ จะมี
บทบาทหลักในการจัดการความรู้ ใช้พลังของความรู้ มีความเป็นมืออาชีพการจัดการความรู้ หรือการพัฒนาความรู้ เป็นอย่างมาก ซึ่งบุคคลเหล่านี้จะมีความสามารถ 5 ด้านดังนี้

1) Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ ได้แก่ การเข้าถึงความรู้
ทาง Internet

2 Knowledge Validation คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้ ความรู้มีทั้งของ
จริงและของหลอก ดังนั้น จึงต้องมีการประเมินความถูกต้องของความรู.

3.3) Knowledge Valuation คือ การตีค่า การตีความรู้ ว่าเมื่อมีการใช้ความรู้นั้นแล้วมี
ความคุ้มค่าหรือไม

44) Knowledge Optimization คือ การท าความรู้ให้ง่ายที่จะใช้ การน าความรู้ออกมา
เป็นกฎเกณฑ์ ระเบียบต่าง ๆ ต้องมีพื้นฐานมาจากความรู้ เช่น การท าคู่มือต่าง ๆ.

55) Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้ ปัจจุบันความรู้เป็นสมบัติ
สาธารณะที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ อยู่ที่ความสามารถของแต่ละคนที่จะเข้าถึงความร.

2.2 สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุก
ภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ และเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง มีความเป็นอิสระ และ
พึ่งตนเอง นักวิชาการ นักวิชาชีพมีบทบาทเป็น Knowledge Broker ท าให้เกิดเป็นวิจัยแบบบูรณา

การที่ผลงานวิจัยย่อย ๆ หลาย ๆงานวิจัยรวมตัวกันเพื่อแก้ปัญหาวิจัยย่อยและปัญหาใหญ่แบบครบ
วงจรวัฎจักรของความรู้ในสังคม ลักษณะส าคัญของสังคมความรู้ยุคที่ 2 คือ
1) มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

2) มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม

3) มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

4) มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม

3.]ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

3.1 ไม่จ ากัดขนาดและสถานที่ตั้ง
3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
3.3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)
3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ด าเนินการ (Key Institutions)
3.5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
3.6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
3.7มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง
3.8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
3.9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
3.10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
3.11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

4. ความรู้

4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้”
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออก
จากกันได้ ซึ่งค าทั้ง 3 ค ามีนักวิชาการหลายๆ ท่านได้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล สารสนเทศ
และความรู้ไว้ดังนี้
4.1.1 ความหมายของข้อมูล (Data)
Ackoff (1989) กล่าวว่า ข้อมูล คือ สัญลักษณ์ที่ยังไม่ได้แปรความ
พรธิดา วิเชียรปัญญา (2547) กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลดิบที่เกิดจากการท างาน
ประจ าวัน ซึ่งถือว่าเป็นข้อมูลในระดับปฏิบัติการ
วิจารณ์ พานิช (2546) กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลเชิงบรรยาย หรือข้อมูลเชิง
ปริมาณเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง หรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง4.1.2 ความหมายของสารสนเทศ (Information)
สารสนเทศ มาจากภาษาอังกฤษค าว่า “Information” ซึ่งมีผู้ได้ให้นิยามไว้ต่างๆ ดังนี้
สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ (2553) กล่าวว่า สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่มีคุณค่าและคุณประโยชน์ ทั้งในเชิงจำนวนและคุณภาพ เช่น ข้อมูลความเป็นจริงในการปฏิบัติงาน เป็นต้น

4.2ความหหมายของความรู้
ความรู้หมายถึง ส่วนผสมที่เกิดจากความรู้จากประสบการณ์การทำงานน และประสบการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ที่พร้อมจะถูกนำไปใช้เพื่อการตัดสินใจและการกระทำต่างๆ
-ประเภทของความรู้
1.ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น
2.ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู็ที่บันทึกไว้ เช่น ฐานข้อมูล รายงาน คู่มือต่างๆ