อาหารไทย

จุดกำเนิด

อาหารไทยมีจุดกำเนิดพร้อมกับการตั้งชนชาติไทย และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน

สมัยสุโขทัย

สมัยอยุธยา

สมัยธนบุรี

สมัยรัตนโกสินทร์

คุณค่าของอาหารไทย

คุณค่าทางโภชนาการ

r

 อาหารไทยจะมีส่วนผสมของสมุนไพรที่มีประโยชน์ เป็นยารักษาโรค ไม่ว่าจะเป็น หอมแดง กระเทยม ข่า ตะไคร้ มะกรูด เป็นอาหารที่ใช้รักษาโรคต่างๆได้ เป็นอาหารและยารักษาโรคในครั้งเดียวกัน

คุณค่ทางยา

r

อาหารไทยเป็นอาหารที่ใช้พืชผัก ตามครัวเรือนซึ่งนำมาปรุงอาหารต่างๆ ให้สารอาหารต่างๆ ครบทั้งโปรตีน คาร์โบไฮเรต ไขมัน วิตามินต่างๆ มีประโยชน์ต่อร่างกาย

คุณค่าทางภูมิปัญญาและวัฒนธรรม

r

อาหารที่มีความหลากหลายทางด้านรสชาติ และมีการใช้กะทิและเครื่องแกงมากที่สุด อาหารไทยภาคกลาง ภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีภูเขาบ้าง ส่วนมากเป็นภูเขาเตี้ยๆ มีแม่น้ำหลายสายไหลผ่าน ที่สำคัญ ได้แก่ แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำท่าจีน แม่น้ำแม่กลอง ภาคกลาง ถือว่าเป็นภาคที่มีความอุดมสมบูรณ์มากที่สุด ทั้งการดำรงชีวิต และ การทำมาหากิน ลักษณะเด่นของอาหารภาคกลาง จะมีรสชาติครบ เปรี้ยว หวาน มันเค็ม เผ็ด มีความปราณีต ตกแต่งจานอาหารสวยงาม และ อุดมไปด้วยเครื่องแกงต่างๆ

อาหารไทย4ภาค

ภาคกลาง

r

เป็น อาหารที่มีความหลากหลายทางด้านรสชาติ และมีการใช้กะทิและเครื่องแกงมากที่สุด อาหารไทยภาคกลาง ภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีภูเขาบ้าง ส่วนมากเป็นภูเขาเตี้ยๆ มีแม่น้ำหลายสายไหลผ่าน ที่สำคัญ ได้แก่ แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำท่าจีน แม่น้ำแม่กลอง ภาคกลาง ถือว่าเป็นภาคที่มีความอุดมสมบูรณ์มากที่สุด ทั้งการดำรงชีวิต และ การทำมาหากิน ลักษณะเด่นของอาหารภาคกลาง จะมีรสชาติครบ เปรี้ยว หวาน มันเค็ม เผ็ด มีความปราณีต ตกแต่งจานอาหารสวยงาม และ อุดมไปด้วยเครื่องแกงต่างๆ

ไส้อ่อนทอดกระเทียมพริกไทย

ไส้อ่อนทอดกระเทียมพริกไทย

ผัดกระเพราไก่

ผัดกระเพราไก่

ภาคเหนือ

r

เป็น อาหารที่มีรสชาติแบบกลางๆ มีรสเค็มนำเล็กน้อย รสเปรี้ยว และ หวาน มีน้อยมากหรือแทบจะไม่นิยมเลย ลักษณะเด่นของอาหารภาคเหนือ อาหารพื้นบ้านล้านนาไม่นิยมใส่น้ำตาล ความหวานจะได้จากส่วนผสมที่นำมาทำอาหาร เช่น ความหวานจากผัก จากปลา ไขมันจะได้จากน้ำมันของสัตว์

ยำสะนัด

ยำสะนัด

น้ำพริกอ่องปลากระป๋อง

น้ำพริกอ่องปลากระป๋อง

ภาคใต้

r

มีลักษณะผสมผสานระหว่าง อาหารไทยพื้นบ้าน กับ อาหารอินเดีย เช่น น้ำบูดู ซึ่งได้มาจากการหมักปลาทะเลสดผสมกับเม็ดเกลือ อาหารปักษ์ใต้ เป็น อาหารที่อร่อย รสชาติจัด ไม่ว่าจะเป็น เผ็ดจัด เค็มจัด เปรี้ยวจัด นิยมใช้เครื่องเทศมาก อาหารพื้นบ้านภาคใต้ เป็น อาหารที่ได้รับอิทธิพลจากอินเดีย

ผัดเผ็ดเนื้อใบยี่หร่า

ผัดเผ็ดเนื้อใบยี่หร่า

ขนมจีนน้ำยาปู

ขนมจีนน้ำยาปู

ภาคอิสาน

r

มีรสชาติเด่น คือ รสเค็มจากน้ำปลาร้า รสเผ็ดจากพริกสดและแห้ง อาหารอีสาน ส่วนใหญ่จะมีลักษณะแห้ง ข้น และมีปลาร้าเป็นส่วนผสมของอาหารแทบจะทุกเมนู อาหารพื้นบ้านอีสาน ส่วนมากจะเผ็ด เค็ม และ เปรี้ยว คนอีสาน จะรับประทานข้าวเหนียวเป็นหลัก ข้าวเหนียว จึงเป็นเหมือน สัญลักษณ์ของอาหารอีสาน

ไก่รวนปลาร้า

ไก่รวนปลาร้า

น้ำพริกปลาร้าสับ

น้ำพริกปลาร้าสับ

เอกลักษณ์ของอาหารไทย

อาหารไทยมีเสนห์ ทั้ง รูป รส กลิ่น เสียง และประโยชน์ทางสุขภาพ อาหารไทย เป็น อาหารสุขภาพ ที่ใช้สมุนไพรต่างมาปรุงอาหาร มีเนื้อสัตว์ ผัก และการปรุงรสที่มีครบทุกรสชาติ ไม่ว่าจะเป็น เปรี้ยว หวาน มัน เค็ม และเผ็ด

อาหารชาววัง

r

อาหารชาววัง หรือ กับข้าวเจ้านาย คืออาหารที่ประดิษฐ์คิดค้นโดยผู้คนในรั้ววัง มีอัตลักษณ์ที่สำคัญคือ ความอุดมสมบูรณ์และความสดใหม่ของวัตถุดิบในการประกอบอาหาร มีกรรมวิธีในการทำซับซ้อน ประณีต ต้องใช้เวลาและกำลังผู้คนในการทำจำนวนมาก มีลักษณะความแปลกแตกต่าง ความวิจิตรบรรจง รวมถึงมีรสชาติที่นุ่มนวลไม่เผ็ดมาก มีความกลมกล่อมเป็นหลัก องค์ประกอบของอาหารชาววัง ในแต่ละมื้อจะประกอบด้วยอาหารที่มีความหลากหลาย ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีประเภทอาหารอย่างน้อยที่สุด 7 ประเภท คือ ข้าวเสวย เครื่องคาว เครื่องเคียงแกง เครื่องเคียงแขก เครื่องเคียงจิ้ม เครื่องเคียงเกาเหลา เครื่องหวาน อาหารมีครบรส คือ เปรี้ยว หวาน มัน เค็ม เผ็ด อาหารชาววังแตกต่างจากอาหารชาวบ้านคือ การจัดอาหารเป็นชุด หรือ สำรับอาหาร

ปลาตะเพียนต้มเค็ม

ปลาตะเพียนต้มเค็ม

น้ำพริกลงเรือ

น้ำพริกลงเรือ

หรุ่ม

หรุ่ม

มัสมั่น

มัสมั่น

แสร้งว่า

แสร้งว่า

อาหารข้างถนน

คืออาหารพร้อมรับประทานหรือเครื่องดื่มที่ขายข้างถนนหรือสถานที่สาธารณะต่าง ๆ เช่น ตลาด หรือ งานออกร้าน มักจะมาจากซุ้มขายอาหาร รถเข็นอาหาร หรือรถบรรทุกอาหาร ขณะที่อาหารข้างถนนจะมีเฉพาะท้องถิ่น มักจะมีแพร่หลายตามบริเวณที่เป็นต้นกำเนิด อาหารข้างถนนส่วนใหญ่ยังแบ่งเป็นอาหารที่รับประทานด้วยนิ้วมือและอาหารจานด่วน และราคาถูกกว่าอาหารในภัตตาคาร จากการศึกษาขององค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ

Floating topic