Report Writing
การเขียนรายงาน
ประโยชน์ของการทำรายงาน
ทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ และข้อเท็จจริงใหม่ๆ
ทำให้มีพัฒนาการทางวิชาการในสาขาวิชาต่างๆ
ช่วยให้ทราบข้อมูลที่แท้จริง รวมทั้ง
ข้อบกพร่อง
สารบัญ/สารบาญ (Table of Content)
opic
มีหัวข้อหลักๆ/ที่
สำคัญๆ ของแต่ละบท
ปรากฎด้วย
บอกภาพทุกภาพที่
ปรากฏในรายงานว่าอยู่
หน้าไหนบ้าง
ทำเช่นเดียวกับ
สารบัญภาพ
ประเภทของรายงาน
รายงานวิชาการ (Reports)
ภาคนิพนธ์(Term paper)
วิทยานิพนธ์(Thesis/Dissertation)
รายงานการวิจัย (Research)
รายงานวิชาการ (Reports)
ศึกษาค้นคว้าและนำมาเรียบเรียง
อย่างมีระเบียบ
ทำเป็นกลุ่มหรือเป็นรายบุคคล
ผู้ทำรายงานอาจเลือกหัวข้อที่สนใจเอง
หรือผู้สอนเป็นผู้กำหนดให
บรรณานุกรม/เอกสารอ้างอิง(bibliography/reference)
เป็นรายชื่อเอกสารที่นำมาเขียนรายงานทั้งหมด
เรียงตามตัวอักษร ก-ฮ หรือ A-Z (ภาษาไทยจะเรียง
ก่อนภาษาอังกฤษ)
ภาคผนวก (Appendix)
ไม่จำเป็นต้องมีในรายงานทุกฉบับ
ชั้นตอนการทำรายงาน
กำหนดชื่อเรื่อ
วางโครงร่างเนื่อหา
คิดคำสำคัญ / คำค้น
เลือกแหล่งและทรัพยากรสารสนเทศ
สืบค้นสารสนเทศในระบบมือ / ใช้ IT เป็นเครื่องมือ
ประเมิน วิเคราะห์ และสังเคราะห์สารสนเทศ
• เรียบเรียงและนำเสนอรายงาน
ภาคนิพนธ์(Term paper)
มีลักษณะเช่นเดียวกับรายงาน
มีรายละเอียดลึกซึ้งมากกว่า
ใช้เวลา 1 ภาคการศึกษา
ส่วนประกอบของรายงาน
หน้าปก
(Cover)
ชื่อของ
รายงาน
ชื่อ-นามสกุล
และเลขรหัส
ชื่อวิชา
ชื่อสำนัก
วิชา
ชื่อสถาบัน
การศึกษา
ปีการศึกษา
ที่ทำ
หน้าปก
ใน
ใบรอง
ปก
คำนำ
สารบัญ
เนื้อหา
บรรณา
นุกรม
ภาค
ผนวก
ใบรอง
ปกหลัง
ปกหลัง
เนื้อหา(Content)
แต่ละบทควรมีโครงเรื่องและโดยการลำดับหัวข้อที่ชัดเจน
แบ่งย่อหน้าให้เหมาะสม
คำนำ (Preface)
บอกขอบเขต
และ
วัตถุประสงค์
ของการจัดทำ
อาจจะบอก
เนื้อหา (เป็น
ตอน/บท)
อย่างคร่าวๆ
ส่วนใหญ่มี 2 ย่อหน้า
ในตอนท้าย
จะลงชื่อ
ผู้จัดทำและ
วันที่เขียน
คำนำ
กิตติกรรมประกาศ (acknowledgement)
เป็นหน้าที่ใช้กล่าวขอบคุณ
ผู้ที่ให้การสนับสนุน ผู้ที่ให้
ข้อมูลต่างๆ
ส่วนใหญ่พบในรายงาน
การวิจัย/วิทยานิพนธ์
รายงานการวิจัย (Research)
เป็นรายงานผลของการค้นคว้าวิจัย
ของอาจารย์นักวิชาการ นักวิจัย เป็น
การศึกษาค้นคว้าลักษณะ
เดียวกับการทำวิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์(Thesis/Dissertation)
เป็นรายงานผลของการค้นคว้าวิจัย ซึ่ง
เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาในระดับ
บัณฑิตศึกษา