G7_61117412

เนื้อหา

1นิยามของความรู้แบ่งออกเป้น 2 ยุค คือ

1.1 เป็นสังคมที่มีพลังอำนาจเข้าด้วยกัน

1.2 ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียงสมดุล ประชาชนทึุกคนทีบทบาท
ร่วม กันเป้นเจ้าของ และมีอิสระ

ยุคของสังคมความรู้ 2

เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุก
ภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ และเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง มีความเป็นอิสระ และ
พึ่งตนเอง

ความรู้ 4

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้”
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออกจากกัน ได้ 3 คำตามนักวิชาการ

4.1ความหมายของข้อมูล (Data)

1) ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจ านวน (Numeric Data)

2) ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลที่เป็นข้อความ (Text Data)

3) ข้อมูลกราฟิก (Graphical Data)

4) ข้อมูลภาพลักษณ์ (Image Data)

5) ข้อมูลเสียง (Voice Data)

4.2 ความหมายของสารสนเทศ (Information)

จากคำานิยามข้างต้น สามารถสรุปความหมายของสารสนเทศ ได้ดังนี้สารสนเทศ หมายถึง
ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้
โดยสารสนเทศนั้นบันทึกไว้ในรูปแบบของวัสดุตีพิมพ์ได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์นิตยสารแผ่นพับ จุลสาร เอกสารจดหมายเหตุและวัสดุไม่ตีพิมพ์

ยุคของสังคมความรู้ 1

1) Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ ได้แก่ การเข้าถึงความรู้
ทาง Internet หรือ ICT Connectivity ต่าง ๆ

Knowledge Validation คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้ ความรู้มีทั้งของ
จริงและของหลอก ด

3) Knowledge Valuation คือ การตีค่า การตีความรู้ ว่าเมื่อมีการใช้ความรู้นั้นแล้วมี
ความคุ้มค่าหรือไม่ ซ

4) Knowledge Optimization คือ การท าความรู้ให้ง่ายที่จะใช้ การน าความรู้ออกมา
เป็นกฎเกณฑ์ ระเบียบต่าง ๆ ต้องมีพื้นฐานมาจากความรู้ เช่น การท าคู่มือต่าง ๆ

5) Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้ ปัจจุบันความรู้เป็นสมบัติ
สาธารณะที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ อยู่ที่ความสามารถของแต่ละคนที่จะเข้าถึงความรู้

ลักาณะของคามรู้ 3

3.1 ไม่จ ากัดขนาดและสถานที่ตั้ง

3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก

3.3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)

3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ด าเนินการ (Key Institutions)

3.5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน

3.6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้

3.7มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง

3.8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา

3.9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้

3.10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน

3.11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน