によって Sorawit Chapan 5年前.
273
もっと見る
3. ภ.ง.ด.3 ก
ใช้สำหรับการจ่ายเงินได้ตามมาตรา ม.40 (5) (6) (7) (8)
2. ภ.ง.ด.2 ก
ยื่นรายการภายในเดือนมกราคมของปีถัดจากปีที่จ่ายเงินได้
ใช้สำหรับการจ่ายเงินได้ตามมาตรา ม.40 (3) และ (4)
1. ภ.ง.ด.1 ก , ภ.ง.ด.1 ก พิเศษ
ยื่นรายการภายในเดือนกุมภาพันธ์ของปีถัดจากปีที่จ่ายเงินได้
ใช้สำหรับการจ่ายเงินได้ตามมาตรา ม.40 (1) และ (2)
แบบแสดงรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
3. ภ.ง.ด.3 ใช้สำหรับเงินได้ตามมาตรา ม.40 (5) (6) (7) หรือ (8) ไม่ว่าผู้มีเงินได้จะอยู่ในประเทศไทยหรือไม่ก็ตาม นำส่งภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดจากเดือนที่จ่ายเงินได้
2. ภ.ง.ด.2 ใช้สำหรับเงินได้ตามมาตรา ม.40 (3) และ (4) (ก) ถึง(ช) นำส่งภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดจากเดือนที่จ่ายเงินได้
1. ภ.ง.ด.1 ใช้สำหรับเงินได้ตามมาตรา ม.40 (1) และ (2) นำส่งภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดจากเดือนที่จ่ายเงินได้
การหักภาษีเงินได้นิติบุคคล ณ ที่จ่ายตามมาตรา 3 เตรส รายละเอียดเหมือนหักภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หัวข้อ มาตรา 3 เตรส
ผู้รับ ได้แก่ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
ผู้จ่าย ได้แก่ บุคคลธรรมดา ห้างหุ้นส่วน บริษัท สมาคม หรือคณะบุคคล จ่ายเงินซื้ออสังหาริมทรัพย์
หักภาษีอัตราร้อยละ 1
ผู้รับ ได้แก่ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทั้งที่ตั้งขึ้นตามกฎมายของไทย หรือที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ
ผู้จ่าย ได้แก่ รัฐบาล องค์การของรัฐบาล สุขาภิบาล หรือองค์การบริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่น
อัตราภาษีร้อยละ 1
อัตราภาษีร้อยละ 2
ผู้จ่าย บุคคล , บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล , นิติบุคคลอื่น , ห้างหุ้นส่วนสามัญ , คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล
อัตราภาษีร้อยละ 3
ผู้รับ ผู้ที่มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่มีภูมิลำเนาหรืออยู่ในประเทศไทย
อัตราภาษีร้อยละ 5
ผู้รับ ผู้ที่มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ผู้จ่าย บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล , นิติบุคคลอื่น
การหักภาษี ณ ที่จ่ายของเงินได้จาการขายอสังหาริมทรัพย์
เงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยทางอื่น
ภาษีที่หักต้องไม่เกินร้อยละ 20
เงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดกหรือได้รับจากหารให้โดยเสน่หา
คำนวณหัก ณ ที่จ่ายโดยหักค่าใช้จ่ายร้อยละ 50
เฉพาะที่จ่ายให้แก่ผู้รับที่ขายอสังหาริมทรัพย์หรือโอนกรรมสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์โดยไม่มีค่าตอบแทน
ไม่รวมถึงการจ่ายซื้อพืชผลทางการเกษตรที่ผู้จ่ายเป็นรัฐบาล เทศบาล สุขาภิบาลหรือองค์การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
เงินหรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้เนื่องจากการให้เช่าทรัพย์สิน เงินได้จากวิชาชีพอิสระ หักในอัตราร้อยละ 15 ของเงินได้
2.4 หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายตามบัญชีอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 3 และ 4
เช่น ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิทธิ์ หรือสิทธิอย่างอื่นๆ กำไรจากการขายหุ้นนอกตลาดหลักทรัพย์ เงินลดทุน เงินเพิ่มทุน
2.3 ไม่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่บุคคลธรรมดา คณะบุคคล หรือห้างหุ้นส่วนสามัญเป็นผู้จ่ายให้แก่ผู้รับซึ่งเป็นผู้อยู่ในประเทศไทย
2.2 หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายร้อยละ 10
เงินปันผล เงินส่วนแบ่งกำไร หรือประโยชน์อื่นใดที่ผู้รับซึ่งอยู่ในประเทศไทยถึง 180 วัน
2.1 หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายร้อยละ 15
ผลต่างระหว่างราคาไถ่ถอนกับราครจำหน่ายตั๋วเงิน หรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นเป็นผู้ออก
ผลประโยชน์ที่ได้จาการโฮนพันธบัตร หุ้นกู้ หรือตั๋วเงิน
เช่น ดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารในราชอาณาจักร ดอกเบี้ยเงินฝากสหกรณ์ ดอกเบี้ยหุ้นกู้
1.10 กรณ๊จ่ายเงินได้พึงประเมินที่คนต่างด้าวได้รับเนื่องจากการจ้างแรงงานของสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค
1.9 กรณีเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 2 นอกจากเงินที่นายจ้างให้ครั้งดียวเพราะเหตุออกจากงาน ที่จ่ายให้แก่ผู้รับซึ่งมิได้เป็นผู้อยู่ในประเทศไทย
1.8 กรณีเงินได้ให้กับลูกจ้างรายวัน
1.7 กรณีเงินได้ที่นายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน
1.6 กรณีนายออกเงินค่าภาษีแทนให้ลูกจ้างสำหรับเงินเดือนหรือค่าจ้างที่ลูกจ้างได้รับในปีใดโยลูกจ้างไม่ต้องรับภาระในการเสียด้วยตนเอง
1.5 กรณีนายจ้างออกเงินค่าภาษีแทนให้ลูกจ้าง สำหรับเงินเดือนหรือค่าจ้างเป็นจำนวนที่แน่นอน
1.4 กรณีมีจำนวนคราวที่จ่ายเงินได้พึงประเมินไม่สม่ำเสมอตลอดปีภาษี
1.3 กรณีมีการจ่ายเงินพิเศษเป็นครี้งคราวระหว่างปี
1.2 กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงจำนวนเงินได้พึงประเมินที่จ่ายระหว่างปี
1.1 กรณีปกติทั่วไป
ไม่ยื่นบัญชีจ่ายเงินได้พึงประเมิน 40(1)(2)(3)(4) หรือ (7) หรือพยานหลักฐานอื่นอัให้แก่เจ้าพนักงานประเมินหรือหนังสือแจ้งความ เพื่อตรวจสอบการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายตามมาตรา51 ควรเปรียบเทียบปรับกระทงละ 1,000 บาท
ไม่ออกหนังสือการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายตามมาตรา 50 ทวิ ควรเปรียบเทียบปรับกระทงละ 500 บาท
ไม่จัดทำบัญชีพิเศษแสดงการจ่ายเงินได้และการนำส่งภาษีตามมาตรา 17 ควรเปรียบเทียบปรับกระทงละ 1,000 บาท
ไม่ยื่นแบบแสดงรายการนำส่งภาษี หรือแบบรายการสรุปการจ่ายภาษีเงินได้และจำนวนเงินภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ที่ได้นำส่งไว้แล้วทั้งสิ้นตามมาตรา 17 กรมสรรพากรกำหนดอัตราที่ควรเปรียบเทียบปรับ ดังนี้
3. กรณีเจ้าหน้าที่ตรวจพบการกระทำความผิด ปรับกระทงละ 1,000 บาท
2. กรณียื่นแบบแสดงรายการเกินกำหนดเวลา 7 วัน นับแต่วันพ้นกำหนดเวลายื่นแบบแสดงราย ปรับกระทงละ 200 บาท
1. กรณียื่นแบบแสดงรายการ เกินกำหนดเวลาไม่เกิน 7 วัน นับแต่วันพ้นกำหนดเวลายื่นแบบแสดงราย ปรับกระทงละ 100 บาท
การคำนวณภาษีเงินได้ ผู้จ่ายเงินได้จะนำเงินเพิ่มภาษีไปถือเป็นจ่ายในการคำนวณเงินได้สุทธิหรือกำไรและขาดทุนสุทธิไม่ได้
ผู้มีเงินได้ต้องรับผิดแต่เพียงฝ่ายเดียว
ต้อเสียเงินเพิ่มในอัตราร้อยละ 1.5 ต่อเดือน
ผู้จ่ายเงินได้ต้องรับผิดในจำนวนเงินเพอ่มภาษี ในกรณีที่นำส่งไม่ครบและพ้นกำหนดเวลานำส่ง
กรณีผู้มีเงินได้ได้นำเงินได้ที่ตนมีหน้าที่เสียไปรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้และยื่นแบบแสดงรายการไว้แล้ว ย่อมมีผลทำให้ทั้งผู้มีเงินได้และผู้จ่ายได้พ้นจากความรับผิดในจำนวนภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
กรณีผู้มีเงินได้แจ้งรายการหักลดหย่อนไม่ถูกต้อง ทำให้หักภาษี ณ ที่จ่ายพลาดผู้มีเงินได้ต้องรับผิดชำระเงินที่นพำส่งไม่ครบถ้วน ผู้หักภาษีไม่ต้องรับผิด
กรณีที่หักภาษี ณ ที่จ่ายไว้แล้วแต่มิได้นำส่ง ผู้จ่ายงเินได้ต้องรับผิดในจำนวนเงินที่หักแต่เพียงฝ่ายดียว
กรณีที่ไม่ได้หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายและนำส่งหรือหักและนำส่งแล้วแต่ไม่ถูกต้องครบถ้วน ผู้จ่ายเงินได้ต้องร่วมรับผิดกับผู้มีเงินได้ในจำนวนเงินที่ขาด