Value Added Tax
ความรับผิดในการเสียภาษี (Tax Point)
3. การนําเข้า
การขายของตกค้าง (โดยกรมศลุกากร) ความรับผิดเมื่อได้ขายทอดตลาดหรือขายโดยวิธีอื่น
การนําเข้าสินค้าทุกกรณี ความรับผิด เมื่อผ่านพิธีการทางศุลกากร
2. การให้บริการ
การให้บริการด้วยเครื่องอตัโนมัติ ความผรับผิด เมื่อนําเงินออกจากเครื่อง
การให้บริการที่กระทําในต่างประเทศและใช้ บริการนั้นในไทย ความรับผิด เมื่อชําระราคาค่าบริการ
การให้บริการ ความรับผิดเมื่อรับชําระราคา
1. การขายสินค้า
กรณีจําหน่าย จ่าย โอนสินค้าโดยไม่มี ค่าตอบแทน ความรับผิด เมื่อส่งมอบสินค้า
สินค้าขาดจากรายงาน ความรับผิด เมื่อตรวจพบ
เช่าซอื้/ขายผ่อนชําระที่กรรมสุทธิ ยังไม่โอนไป ยังผู้ซื้อ ความรับผิด ตามงวดที่ถึงกําหนดชําระ
การขายสินค้าด้วยเครื่องอัติโนมัติ ความรับผิด เมื่อนําเงินออกจากเครื่องอัตโนมัติ
ขายเสร็จเด็ดขาด, สัญญาจะขาย ความรับผิดเมื่อมีการส่งมอบสินค้า
อัตราภาษี
อัตราร้อยละ 0
อัตราทั่วไป ร้อยละ 7
การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม
กลุ่มที่2 กิจการที่ได้รับการยกเว้นและไม่สามารถขอเข้าสู่ระบบภาษีมูลค่าเพิ่มได้
การให้บริการเช่าอสังหาริมทรัพย์
การให้บริการตามสัญญาจ้างแรงงาน
การให้บริการของนักแสดงสาธารณะ
การให้บริการประกอบโรคศิลปะ การสอบบญัชี การว่าความ
การให้บริการรักษาพยาบาลของสถานพยาบาลทางราชการและเอกชน
การให้บริการขนส่ง
การให้บริการการศึกษาของสถานศึกษาของทางราชการ
การนําเข้าสินค้าของกลุ่มที่ 1 ข้อ 2-7
กลุ่มที่1 กิจการที่ได้รับการยกเว้นแต่สามารถขอเข้าสู่ระบบภาษีมูลค่าเพิ่มได้
การขายหนังสือพิมพ์ นิตยสาร หรือตําราเรียน
การขายยาหรือเคมีภัณฑ์
การขายปลาป่น อาหารสัตว์
การขายปุ๋ย
การขายสัตว์ทั้งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิตภายในราชอาณาจกัร
การขายพืชผลทางการเกษตรสภาพสดหรือรักษาสภาพไว้เพื่อมิให้เสียเป็นการชั่วคราวในระหว่างขนส่งด้วยการแช่เย็น
การขายสินค้าหรือให้บริการของผู้ประกอบการที่มีรายรับไมเ่กิน 1.8 ล้านบาทต่อปี
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้ที่กฎหมายกําหนดให้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 82/1
ผู้นำเข้า
ผู้ประกอบการ
กิจการที่ต้องเสียภาษี
การให้บริการ
การขายสินค้า
บุคคล
นิติบุคคล
คณะบุคคลที่มิใช่นิติบคุคล
บุคคลธรรมดา หมายความรวมถึง กองมรดก
ภาษีซื้อต้องห้าม
ภาษีซื้อที่ต้องห้ามตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป มิได้ตีพิมพ์ขึ้นหรือมิได้จัดทำขึ้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ภาษีซื้อที่เกิดจากการก่อสร้างอาคารหรืออสังหาริมทรัพย์อื่น ได้ขายหรือให้เช่าหรือนําไปใช้ในกิจการที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีซื้อ ที่เกิด จากการซื้อทรัพย์สินเพื่อใช้ หรือจะนําไปใช้ในกิจการประเภทที่ไม่ ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อ เช่าซื้อ เช่า หรือรับโอนรถยนต์นั่ง หรือรถยนต์โดยสารที่ มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน
ภาษีซื้อต้องห้ามตามมาตรา 82/5(1) – (6)
ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีซึ่งออกโดยผู้ไม่มีสิทธิออกใบกํากับภาษี
ภาษีซื้อที่เกิดจากรายจ่ายเพื่อการรับรองหรือเพื่อการอันมีลักษณะทำนองเดียวกัน
ภาษีซื้อที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการประกอบกิจการของผู้ประกอบการจดทะเบียน
กรณีมีใบกำกับภาษี แต่ใบกำกับภาษีดังกล่าวมีข้อความไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์
กรณีมีใบกำกับภาษี แต่ไม่อาจแสดงใบกำกับภาษีได้ว่ามีการชำระภาษีซื้อ
กรณีไม่มีใบกำกับภาษี
การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีที่ต้องชำระ = ภาษีขาย - ภาษีซื้อ
การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องเรียกเก็บ (ภาษีขาย)
ภาษีมูลค่าเพิ่มที่เรียกเก็บ (ภาษีขาย) = ฐานภาษี x อัตราภาษี
ใบกำกับภาษี (Tax invoice)
ประเภทของใบกำกับภาษี
4. เอกสารอื่นที่ถือเป็นใบกำกับภาษี
ใบลดหนี้
ใบเพิ่มหนี้
3. ใบกาำกับภาษีที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนดให้มีรายการเป็นอย่างอื่น
2. ใบกำกับภาษีอย่างย่อ
รายการของใบกาํกับภาษีอย่างย่อ
ราคาสินค้าหรือค่าบริการโดยต้องมีข้อความระบุชัดเจนว่าได้รวมภาษีมูลค่าเพิ่มไว้แล้ว
หมายเลขลําดับของใบกํากับภาษี และหมายเลขลําดับของเล่มถ้ามี
ชื่อ หรือ ชื่อย่อ และเลขประจําตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ประกอบการจดทะเบียน ที่ออกใบกํากับภาษี
คําว่า “ใบกํากบัภาษีอย่างย่อ” ในที่เห็นได้เด่นชัด
ผู้มีสิทธฺออกใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ผู้ประกอบการที่ประกอบกิจการค้าปลีก เท่านั้น
1. ใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป
รายการของใบกํากับภาษีเต็มรูป
จํานวนภาษีมูลค่าเพิ่มที่คํานวณจากมูลค่าของสินค้าหรือของบริการ โดยให้ แยกออกจากมูลค่าของสินค้าและหรือของบริการให้ชัดแจ้ง
ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณ และมูลค่าของสินค้าหรือของบริการ
วัน เดือน ปี ที่ออกใบกํากับภาษี
หมายเลขลําดับ และหมายเลขลําดับของเล่ม(ถ้ามี)ของใบกํากับภาษี
ชื่อ ที่อยู่ ของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ
ชื่อ ที่อยู่และเลขประจําตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ประกอบการจดทะเบียน
คําว่า “ใบกํากบัภาษี” ในที่ที่เห็นชัดเจน
ผู้มีหน้าที่ออกใบกำกับภาษี
ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
ฐานภาษี
กรณีอื่นที่กฎหมายกําหนดไว้กรณีเป็นพิเศษ
การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มของฐานภาษีที่มีมูลค่าเป็นเงินตราต่างประเทศ
การคำนวณการขายสินค้าหรือการให้บริการทั่วไป
การขายสินค้าหรือการให้บริการโดยไม่มีค่าตอบแทนหรือมีค่าตอบแทนตํ่ากว่าราคาตลาดโดยไม่มีเหตุอันสมควร มูลค่าของฐานภาษีให้ถือตามราคาตลาดของสินค้า
การนําเข้าและการขายยาสูบ น้ำมันดิบและผลิตภัณฑ์น้ำมัน
ฐานภาษีสําหรับการนําเข้าและการขายน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน
ฐานภาษีสําหรับการนําเข้าและการขายยาสูบ
สําหรับการขายยาสูบ ในราชอาณาจักร โดยให้คํานวณจํานวนภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามอัตราภาษีที่รวมอยู่ในจํานวนเต็มของราคาขายปลีก
สําหรับการนําเข้ายาสูบ ฐานภาษีให้คํานวณเช่นเดียวกับการนําเข้าสินค้าทั่วไป
การนําเข้าสินค้า
ฐานภาษีสําหรับการนําเข้าสินค้าที่จำแนกประเภทไว้ในภาคว่าด้วยของที่ได้รับยกเว้นอากร
ฐานภาษีสําหรับการนําเข้าสินค้าทุกประเภท
มลูค่าของสินค้านําเข้าโดย ใช้ราคา C.I.F ของสินค้า บวกด้วยอากรขาเข้า ภาษีสรรพสามิต ค่าธรรมเนียมพิเศษตามกฎหมายว่าด้วย การส่งเสริมการลงทุน และภาษีและค่าธรรมเนียม
การขายสินค้าหรือการให้บริการเฉพาะอย่าง
ฐานภาษีสําหรับการให้บริการขนส่งระหว่างประเทศ
ในกรณีรับขนสินค้า
มูลค่าของค่าระวาง ค่าธรรมเนียม
ในกรณีรับขนคนโดยสาร
มูลค่าของค่าโดยสาร ค่าธรรมเนียม
ฐานภาษีสําหรับการส่งออก
มูลค่าของสินค้าส่งออกโดยใช้ราคา F.O.B ของ สินค้าบวกด้วยภาษีสรรพสามิตและภาษีและค่าธรรมเนียมอื่น
การขายสินค้าหรือการให้บริการทั่วไป
ฐานภาษีสําหรับการขายสินค้าหรือให้บริการทั่ว ไป ได้แก่ มูลค่าทั้งหมดที่ผู้ประกอบการได้รับหรือพึงได้รับจากการขายสินค้าหรือให้บริการ รวมทั้งภาษีสรรพสามิต