Luokat: Kaikki - สารสนเทศ - การสื่อสาร - ประสบการณ์ - ความรู้

jonka แกมกาญจน์ แก้วจำรัส 5 vuotta sitten

306

Tree Organigram

ความรู้เป็นสิ่งที่ซับซ้อนและมีหลายมิติ ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นความรู้ที่ซ่อนเร้นและความรู้ที่ชัดเจน ความรู้ที่ซ่อนเร้นเป็นสิ่งที่แต่ละบุคคลสะสมจากประสบการณ์ส่วนตัว ขณะที่ความรู้ที่ชัดเจนคือความรู้ที่สามารถบันทึกและถ่ายทอดได้อย่างเป็นระบบ การจัดการความรู้เป็นกระบวนการที่สำคัญในการรวบรวม ประมวลผล และจัดเก็บความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้สามารถเข้าถึงและใช้งานได้อย่างเหมาะสม สารสนเทศเป็นข้อมูลที่ผ่านการประมวลและตีความแล้วมีคุณค่าต่อการใช้งาน ซึ่งสามารถถ่ายทอดได้ผ่านสื่อต่างๆ เช่น หนังสือ บทความ หรือรายงานการประชุม ข้อมูลเป็นสัญลักษณ์หรือข้อเท็จจริงที่ยังไม่ได้แปรความ แต่เมื่อผ่านการวิเคราะห์และตีความแล้วก็จะกลายเป็นสารสนเทศที่มีคุณค่า การสื่อสารความรู้และสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพเป็นสิ่งสำคัญในการสร้างความเข้าใจและพัฒนาความรู้ในสังคม

Tree Organigram

Knowledge

กระบวนการจัดการความรู้

การเข้าถึงความรู้
การประมวลและกลั่นกรองความรู้
การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
การสร้างและแสวงหาความรู้
การบ่งชี้ความร
ประเภทรูปแบบความรู้(Type of Knowledge)
Explicit Knowledge

ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถ รวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ

Tacit Knowledge

ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น เป็น ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์

ความหมายของความรู้ (Definition of Knowledge)
ความรู้ คือ กรอบของการประสมประสานระหว่างสถานการณ์ ค่านิยม ความรู้ในบริบทและ ความรู้แจ้งอย่างชัดเจน
Information (สารสนเทศ)
Orna (1998) กล่าวว่า สารสนเทศ คือ การถ่ายทอดความรู้ของมนุษย์เพื่อการสื่อสารไป ยังบุคคลอื่นทั้งในรูปแบบโสตวัสดุและทัศนวัสดุ สิ่งตีพิมพ์ สุนทรพจน์ หนังสือ บทความ รายงานการ ประชุม หรือฐานข้อมูล
Turban (2006) กล่าวว่า สารสนเทศ คือข้อมูลที่ผ่านการจัดการและตีความหมายแล้วมี คุณค่าต่อผู้รับเพื่อการน าไปใช้งาน
คณาจารย์ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา (2544) กล่าวว่า สารสนเทศ หรือ สารนิเทศ หมายถึง แก่นหรือเนื้อหาที่ส าคัญ ซึ่งได้มีการแจงแสดงออกให้ ทราบ อาจเป็นข้อมูลหรือข้อเท็จจริง ข่าวสาร ความรู้เรื่องราวทั่วไป ความรู้ทางวิชาการหรือศาสตร์ ความรู้สึก ความคิด ประสบการณ์ ซึ่งผ่านการกลั่นกรอง ประมวล
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2549) กล่าวว่า สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ถูก มนุษย์วิเคราะห์และตีความแล้ว มีคุณค่าสูงกว่าข้อมูล
สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ (2553) กล่าวว่า สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่มีคุณค่าและ คุณประโยชน์ ทั้งในเชิงจ านวนและคุณภาพ
Data (ข้อมูล)
วิจารณ์ พานิช (2546) กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลเชิงบรรยาย หรือข้อมูลเชิง ปริมาณเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง หรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
พรธิดา วิเชียรปัญญา (2547) กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลดิบที่เกิดจากการท ำงาน ประจ ำวัน
Ackoff (1989) กล่าวว่า ข้อมูล คือ สัญลักษณ์ที่ยังไม่ได้แปรความ
ประสิทธิ์ ทีฆพุฒิ และครรชิต มาลัยวงศ์ (2549 : 35-37) กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง บันทึกที่แสดงความเป็นไปหรือเป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์หนึ่งๆ หรือเกี่ยวกับ คน สิ่งของ หรือ เรื่องใดเรื่องหนึ่ง

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง(Core Groups) เพื่อรววมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ(Key Institution)
ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา(Key Individuals)
เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง

Knowledge Society Era

สังคมความรู้ยุคที่2
มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม
มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม
มีการถ่ายโอนความรู้ภายในสังคม
มีการสะสมความรู้ภายในสังคม
สังคมความรู้ยุคที่1
Knowledge Dissemination

การกระจายความรู้

Knowledge optimization

การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้

Knowledge Valuation

การตีค่า การตีความรู้

Knowledge Validation

การประเมินความถูกต้องของความรู้

Knowledge Access

การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีต่างๆ

Definition of Knowledge Society

สังคมความรู้
สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง