บทที่ 4 ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
1. มาตรา 50
5. กรณีจ่ายเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 8 เฉพาะที่จ่ายให้แก่ผู้รับที่ขายอสังหาริมทรัพย์
หรือโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์โดยไม่มีค่าตอบแทน
2)เงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยทางอื่น นอกจาก 1)
คำนวณหัก ณ ที่จ่ายเป็นอัตราเหมาตามปีที่ถือครอง
1)เงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์อันเป็ นมรดกหรือได้รับจากการให้โดยเสน่หา
คํานวณหัก ณ ที่จ่ายโดยหักค่าใช้จ่ายร้ อยละ 50 จากราคาประเมินทุนทรัพย์ที่ทางราชการกําหนด
4. กรณีจ่ายเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 5, 6, 7 และ 8
ไม่รวมถึงการจ่ายซื้อพืชผลทางการเกษตร และนอกจากกรณีตาม (1.6) ที่ผู้จ่ายเป็นรัฐบาล องค์การของรัฐบาล เทศบาล สุขาภิบาล หรือองค์การบริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่น ซึ่งจ่ายเงินได้ให้แก่ผู้รับรายหนึ่งๆ มีจํานวนรวมทั้งสิ้นตั้งแต่ 10,000 บาทขึ้นไป แม้การจ่ายนั้นจะได้แบ่งจ่ายครั้งหนึ่งๆ ไม่ถึง 10,000 บาทก็ดี ให้คํานวณหัก
ภาษีในอัตราร้อยละ 1 ของยอดเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 50 (3)
3. กรณีจ่ายเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 5 และ 6
2. กรณีจ่ายเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 3
4) หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายตามบัญชีอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ได้แก่ เงินได้พึงประเมินที่3 และ 4 นอกจากที่ระบุไว้ในข้อ 1), 2) และ 3)
3) ไม่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ได้แก่ ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่บุคคลธรรมดา คณะบุคคล หรือห้างหุ้นส่วนสามัญเป็นผู้จ่ายให้
2) หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ร้อยละ 10.0 ได้แก่ เงินปันผล
1) หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายร้อยละ 15.0 กรณีจ่ายเงินได้ต่อไปนี้ ดอกเบี้พันธบัตร, ผลประโยชน์ที่ได้จากการโอนพันธบัตร, ผลต่างระหว่างราคาไถ่ถอนกับราคาจำหน่ายตั๋วเงิน
1. กรณีการจ่ายเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1 และ 2
10) กรณีการจ่ายเงินได้พึงประเมินที่คนต่างด้าวได้รับเนื่องจากการจ้างแรงงานของสํานักงานปฏิบัติการภูมิภาค ให้หักภาษี ณ ที่จ่าย ในอัตราร้อยละ 15.0 ของเงินได้
9) กรณีเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 2 นอกจากเงินที่นายจ้างให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงานที่จ่ายให้แก่ผู้รับซึ่งมิได้เป็นผู้อยู่ในประเทศไทย ให้คํานวณหักในอัตราร้อยละ 15.0 ของเงินได้
8) กรณีจ่ายเงินได้ให้กับลูกจ้างรายวัน ผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย ที่มีการจ่ายเงินค่าแรงรายวันจํานวนมากเกินกว่า 100 คนขึ้นไป
7) กรณีการจ่ายเงินได้พึงประเมินประเภท 1 และ 2 ซึ่งนายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน
กรณีรับเป็นบำเหน็จและบำนาญ 3,500 คูณ จำนวนปี่ที่ทำงานแต่ไม่เกิน 10 ปี
กรณีรับเงินเป็นบำเหน็จ 7,000 คูณ จำนวนปีที่ทำงานแต่ไม่เกิน 10 ปี
6) กรณีนายจ้างออกเงินค่าภาษีแทนให้โดยลูกจ้างไม่ต้องรับภาระในการเสีย
ภาษีด้วยตนเองเลย
5) กรณีนายจ้างออกเงินค่าภาษีแทนให้ลูกจ้างสําหรับเงินเดือนหรือค่าจ้างเป็น
จํานวนที่แน่นอน
4) กรณีจํานวนคราวที่จ่ายเงินได้พึงประเมินไม่สมํ่าเสมอตลอดปีภาษี
3) กรณีมีการจ่ายเงินพิเศษเป็นครั้งคราวระหว่างปี
2) กรณีมีการเปลี่ยนแปลงจํานวนเงินได้พึงประเมินที่จ่ายระหว่างปีมีขั้นตอนในการคํานวณหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายใหม่ทุกคราว
1) กรณีปกติทั่วไป เป็นการคํานวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายสําหรับการจ่ายเงินได้พึงประเมินในแต่ละคราวเป็นจํานวนเท่าๆ กันตลอดปีภาษี
ความผิดทางภาษี
ความผิดทางอาญา
4) ไม่ยื่นบัญชีจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(1)(2)(3)(4) หรือ (7) หรือพยานหลักฐานอื่นอันควรแก่เรื่องให้แก่เจ้าพนักงานประเมินตามหนังสือแจ้งความ เพื่อตรวจสอบการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายตามมาตรา 51 ซึ่งกรมสรรพากรกําหนดอัตราที่ควรเปรียบเทียบกระทงละ 1,000 บาท
3) ไม่ออกหนังสือรับรองการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายตามมาตรา 50 ทวิ และประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 20) ซึ่งกรมสรรพากรกําหนดอัตราที่ควรเปรียบเทียบปรับกระทงละ 500 บาท
2. ไม่จัดทําบัญชีพิเศษแสดงการจ่ายเงินได้และการนําส่งภาษีตามมาตรา 17 และประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้และภาษีการค้า (ฉบับที่ 4) ซึ่งกรมสรรพากรกําหนดอัตราที่ควรเปรียบเทียบปรับกระทงละ 1,000 บาท
1. ไม่ยื่นแบบแสดงรายการนําส่งภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย หรือแบบแสดงรายการสรุปการจ่ายเงินได้ และจํานวนภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ที่ได้นําส่งไว้แล้วทั้งสิ้นตามมาตรา 17 ซึ่งกรมสรรพากรกําหนดอัตราที่ควรเปรียบเทียบปรับ
ความผิดทางแพ่ง
1. ความผิดในจํานวนเงินภาษีหัก ณ ที่จ่าย (มาตรา 54)
ต้องรับผิดเสียเงินเพิ่มในอัตราร้อยละ 1.5 ต่อเดือนหรือเศษของเดือนของจํานวนภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ที่นําส่งไว้ไม่ครบถ้วนนั้น
2. ความผิดในเงินเพิ่มภาษี(มาตรา 27)
4) กรณีผู้มีเงินได้ได้นําเงินได้ที่ตนมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้ไปรวมคํานวณเพื่อเสียภาษีเงินได้และยื่นแบบแสดงรายการไว้แล้ว ย่อมมีผลทําให้ทั ้งผู้มีเงินได้และผู้จ่ายได้พ้นจากความรับผิดในจํานวนภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย โดยต้องพิสูจน์ต่อเจ้าพนักงานประเมินเป็นที่แน่ชัดว่า ได้นําเงินได้ไปรวมเป็นเงินได้และยื่นแบบแสดงรายการไว้จริง แต่ผู้จ่ายเงินได้ยังคงต้องรับผิดชอบในเงินเพิ่มมาตรา 27 แห่งประมวลรัษฎากรต่อไป
3) กรณีผู้มีเงินได้แจ้งเกี่ยวกับสถานภาพการสมรส และรายการเพื่อการหักลดหย่อนไม่
ถูกต้องทําให้หักภาษี ณ ที่จ่ายผิดพลาดไปด้วย กรณีนี้ให้ผู้มีเงินได้รับผิดชําระภาษีในส่วนที่นําส่งไม่ครบถ้วนนั้น ผู้หักภาษีหรือผู้จ่ายเงินได้ไม่ต้องรับผิดopic
2) กรณีที่ได้หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายไว้แล้วไม่ว่าทั ้งหมดหรือบางส่วนแต่มิได้นําส่งแก่ทางราชการผู้จ่ายเงินได้ต้องรับผิดในจํานวนภาษีหัก ณ ที่จ่าย ที่ได้หักไว้แล้วนั้นแต่เพียงฝ่ายเดียว
1) กรณีที่ไม่ได้หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายและนําส่ง หรือหักและนําส่งไว้แล้วยังไม่ถูกต้องครบถ้วน ผู้จ่ายเงินได้ต้องร่วมรับผิดกับผู้มีเงินได้ในจํานวนภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายที่ยังหักและนําส่งไว้ไม่ครบถ้วนนั้น
2. มาตรา 3 เตรส แห่งประมวลรัษฎากร
9 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(8) ที่เป็นเงินค่าขนส่ง
อัตราภาษีร้อยละ 1
8 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(8) ที่เป็นเงินรางวัล ส่วนลด หรือประโยชน์ใดๆ เนื่องจากการส่งเสริมการขาย
7 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (8) เฉพาะที่เป็นเงินได้จากการให้บริการ
6 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (8) ที่เป็นเงินค่าโฆษณา
อัตราภาษีร้อยละ 2
5 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(8) เฉพาะที่เป็นค่านักแสดงสาธารณะ
4 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (8) เฉพาะที่เป็นเงินรางวัลการประกวด การแข่งขัน การชิงโชค หรือการอื่นใดอันมีลักษณะทํานองเดียวกัน
3 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(7) และมาตรา 40(8) เฉพาะที่เป็นค่าจ้างทําของ
2 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (6) จากวิชาชีพอิสระ
อัตราภาษีร้อยละ 3
1 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(5) (ก) จากการเช่าทรัพย์สิน
อัตราภาษีร้อยละ 5
หน้าที่ของผ้จ่ายเงินได้(ผู้หักภาษี ณ ที่จ่าย)
และผู้รับเงินได้(ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย)
2. หน้าที่และสิทธิของผ้มีเงินได้ (ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย)
1) แจ้งรายการเพื่อการหักลดหย่อน
Subtopic
2) นําภาษีหัก ณ ที่จ่ายมาเครดิตภาษีได้
3) ขอคืนภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
1. หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้(ผู้หักภาษี ณ ที่จ่าย)
6. จัดทําแบบแจ้งข้อความและรายละเอียดเกี่ยวกับเงินได้ของคนต่างด้าว
5. ยื่นแบบแสดงรายการสรุปการจ่ายเงินได้และการหักภาษี ณ ที่จ่ายเมื่อสิ้นปี
4. ยื่นแบบแสดงรายการและนําส่งเงินภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
2. ออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย
1. คํานวณภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายให้ถูกต้องครบถ้วน
3. จัดทําบัญชีพิเศษแสดงการหักภาษี ณ ที่จ่ายและการนําส่ง
ภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย
3. มาตรา 3 เตรส
การหักภาษีเงินได้นิติบุคคล ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 69 ทวิ มาตรา 69 ตรี และมาตรา 70 แห่งประมวลรัษฎากร ไม่ได้กําหนดให้ผู้จ่ายเงินได้บางประเภท
2. มาตรา 69 ตรี
กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลขายอสังหาริมทรัพย์
1. มาตรา 69 ทวิ
กรณีส่วนราชการจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 แห่งประมวลรัษฎากรให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
หลักเกณฑ์การหักภาษี ณ ที่จ่าย
ผู้รับเงินได้ต้องเป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หรือผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้ นิติบุคคล และหากเป็นการจ่ายเงินได้พึงประเมินให้แก่ผู้รับซึ่งไม่มีหน้าท่ีเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หรือภาษีเงินได้นิติบุคคลผู้จ่ายไม่มีหน้าที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายเช่นจ่ายเงินได้ให้แก่กระทรวงทบวงกรม มหาวิทยาลัยของรัฐ พรรคการเมือง สหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร เป็นต้น
you'll come up with original ideas
ต้องเป็นการจ่ายเงินได้พึงประเมินตามความหมายที่กําหนดไว้ในมาตรา39(ได้กล่าว ไว้ในบทที่ 2 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา) และไม่ได้รับการยกเว้นภาษี
ผู้มีหน้าที่หัก ภาษี ณ ที่จ่าย ได้แก่ บุคคลธรรมดา คณะบุคคล ห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือ นิติบุคคลทุกประเภท รวมทั้งตัวแทนของผู้จ่ายเงินได้ดังกล่าวและต้องมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกำหนด
ประเภทของภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
1. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย
2. ภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย