การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์
(Evaluate, Analysis, Synthesis)
การเลือกใช้สารสนเทศ
เพื่อทำรายงาน บทนิพนธ์ ผ่าน 3 ขั้นตอน
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาสารสนเทศที่ดี
พิจารณาช่วงเวลาทีเผยแพร่
เมื่ออใด
พิจารณาตรงความต้องการ
เนื้อหาอะไร, มาจากใด, เอาไปทำอะไร
พิจารณาขอบเขตเนื้อหา
เนื้อหาครบ, ครอบคลุม, ระดับความรู้
พิจาณาแหล่งที่มาของสารสนเทศ
สำนักพิมพ์/แหล่งผลิต
ผู้แต่ง
พิจารณาความน่าเชื่อถือ
ความเที่ยงตรง มีการแสดงควมคิดเห็นหรือไม่ ลำเอียงหรือไม่
ความถูกต้องของสารสนเทศ แหล่งที่มา อ้างอิง หลักการเขียน
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
ทันต่อความต้องการ
ตรวจสอบได้
เข้าถึงง่าย
สอดคล้องกับความต้องการผู้ใช้
มีความสมบูรณ์
มีความน่าเชื่อถือ
มีความถูกต้อง
การประเมินสารสนเทศ
หลักการประเมิน
เนื้อหาอยู่ระดับใด
3. Tertiary Information เป็นการชี้แหนะแหล่ง เช่นบรรณานุกรม
2. Secondary Information นำสารสนเทศปฐมภูมิมาเขียนใหม่ เช่นบทคัดย่อ
1. Primaary Information งานต้นฉบับ
มีความน่าเชื่อถือหรือไม่
ทันสมัย
ทรัพยากรสารสนเทศ เช่น อยุ๋ในรูปแบบหนังสือ วารสาร เป็นต้น
ผู้เขียน ผู้จัดทำ สำนักพิมพ์
แหล่งสารสนเทศ
ตรงกับความต้องการหรือไม่
ทำได้โดยอ่านชื่อเรื่อง คำนำ สารบัญ เนื้อเรื่องย่อ ฯลฯ
ความสำคัญ
เพื่อคัดสารสนเทศทีมีคุณค่า และมีความน่าเชื่อถือ
ความหมาย
การตรวจสอบว่าสารสนเทศที่ได้มาสามารถตอบคำถามครอบคลุมทุกประเด็นหรือไม่ มีคำอธิบายและอ้างอิงที่เชื่อถือเพียงใด
การวิเคราะห์์สารสนเทศ
นำบัตรบันทึกมาจัดกลุ่มตามประเด็น เพื่อใช้เรียบเรียงเนื้อหา
บัตรบนทึก
3. Paraphase Note
2. Quatation Note
1. Summary Note
ดึงเนื้อที่สอดคล้องกับประเด็น
การอ่านเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศ
การจับใจความ , เนื้อหาสอดคล้อง
การแยกแยะสารสนเทศที่มีเนื้อหาเดียวกันเป็นกลุ่มย่อยๆ
การสังเคราะห์สารสนเทศ
นำเสนอ
PPT
Mind map
แบบโครงร่าง
แบบตามลำดับขั้น
จัดสารสนเทศ
กระบวนการสังเคราะห์สารสนเทศ
5. ถ้าไม่ กลับไปหาคำตอบใหม่
4. ประเมินความครอบคลุม
3. รวบรวมเป็นโครงร่าง
2. จัดกลุ่มความสัมพันธ์ตามลำดับขั้น
1. จัดกลุ่ม
ขั้นตอน
การเขียนอ้างอิง
การว่างโครงร่าง
การจัดกลุ่มความสัมพันธ์