สถิติพื้นฐานและการเก็บข้อมูลเบื้องต้น
ประเภทตัวแปลที่ใช้ในสถิติ
ตัวแปรตามระดับการวัด
ตัวแปรอัตราส่วน
ตัวแปรช่วงหรืออัตราภาค
ตัวแปรอันดับ
ตัวแปรกลุ่ม หรือ นามมาตรา หรือ นามกำหนด
ตัวแปรตามบทบาท
ตัวแปรตาม
ตัวแปรที่เปลี่ยนไปตามตัวแปรต้นหรือผลของตัวแปรต้น
ตัวแปรอิสระ
คือตัวแปรที่กำหนดขึ้นเพื่อทดลองสมมุติฐานเป็นตัวแปรที่เราเปลี่ยนไปเพื่อจะดูผลที่ตามมา
วัตถุประสงค์โดยทั่วไปของการใช้สถิติเพื่อวิจัย
ศึกษาการประมาณค่าหรือพยากร
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
ศึกษาความแตกต่างระหว่างกลุ่มต่างๆที่เป็นเป้าหมายของการศึกษา
พรรณนาคุณสมบัติของหน่วยการศึกษา/วิเคราะห์
หลักการเบื้องต้นที่สำคัญต่อการใช้สถิติ
ตีความหมาย
แปลผลค่าสถิติต่างได้ถูกต้อง
เสนอในรูปแบบมารฐานของแต่ละวิธีการหรือแต่วงวิชายอมรับ
หลีกเลี้ยงการนำเสนอซ้ำซาก
ประเภทของสถิติ
สถิติพารามิเตอร์
สถิติว่าด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมมาจากกลุ่มตัวอย่างเพื่ออธิบาย สรุป
ลักษณะบางประการของประชากร โดยมีการนำทฤษฎี ความน่าจะเป็นมา ประยุกต์ใช้ เช่น การประมาณค่า การทดสอบสมมติฐาน เป็นต้น
สถิติเชิงพรรณนำ
การใช้สถิติเพื่ออธิบายข้อมูลที่มีอยู่ไม่ได้นำไปพยากรณ์ประชากร แต่อย่างใด
ลักษณะที่จะพรรณนาข้อมูลนั้น มีอยู่สองลักษณะ คือ การใช้ตัวอักษรหรือตัวเลข การใช้แผนภาพ
คำจำกัดความ
สถิติ หมำยถึง ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จำกกำร เก็บรวบรวม เช่น จำนวนผู้ประสบอุบัติเหตุบน ท้องถนน อัตราการเกิดของเด็กทารก จำนวน ผู้เสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก เป็นต้น สถิติใน ควำมหมายที่กล่าวมานี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ข้อมูลทางสถิติ (Statistical data)
คำว่าสถิติ (Statistics) มาจากษาภาเยอรมันยอรมัน ว่า Statistics มีรากศัพท์มาจาก Stat หมายถึง ข้อมูลหรือสารสนเทศ ซึ่งจะอำนวยประโยชน์ต่อการบริหารประเทศในด้านต่างๆ
ประเภทของข้อมูล
อัตราส่วน (Ratio Scale)
ข้อมูลประเภทนี้เป็นข้อมูลที่ใช้วัดในระดับสูงสามารถ บวก ลบ คูณ หารได้และมีศูนย์แทน เช่น น้ำหนัก ความเร็ว ความกว้าง ความหนา พื้นที่ จำนวนเงิน อายุ ระยะทางซึ่งถ้ามีค่าเป็น 0 หมายถึง ไม่มี
อันตรภาค (Interval Scale)
เป็นข้อมูลที่บอกถึงควำมแตกต่างระหว่างคำที่
วัดได้แต่ละช่วง ที่มีความห่างเท่ากัน ทุกช่วง
เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข สามารถ บวก ลบ กันได้
แต่ไม่มีศูนย์แท้ เช่น อุณหภูมิ ระดับทัศนคติ
ระดับความคิดเห็น
เรียงอันดับ (Ordinal Scale)
เป็นข้อมูลที่ใช้จัดอันดับของสิ่งต่างๆ โดย
เรียงอันดับของข้อมูลตำมวัตถุประสงค์ท่ี่ตั้งไว้
จากสูงสุดไปหาต่ำสุด เช่น ลำดับที่ของการ
สอบ ลำดับของการประกวดสิ่งต่างๆ หรือ
ความนิยมเป็นต้น ซึ่งจะนำไป บวก ลบ คูณ
หาร กันไม่ได้เช่นกัน
นามบัญญัติ (Nominal Scale)
เป็นระดับการวัดที่หยาบที่สุดจัดข้อมูล
หรือตัวแปรออกเป็นกลุ่ม เช่น เพศ
อาชีพ เป็นต้น
ข้อพิจารณาการใช้สถิติเพื่อการวิจัย
รู้การนำเสนอ การอ่านและการตีความหมายผล
รู้หลักการเบื้องต้นของการใช้สถิติ
สามารถกำหนดสถานภาพของตัวแปรที่ศึกษาได้ว่าเป็นตัวแปร
อิสระ หรือตัวแปรตาม
รู้ลักษณะของข้อมูลว่ามีการวัดระดับใด Level of
Measurement
ทราบประเภทของสถิติที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์
ทราบวัตถุประสงค์ของกำรนำวิธีกำรสถิติมำใช้