การเขียนรายงานวิชาการ
ประโยชน์ของการทำรายงาน
เพิ่มพูนทักษะในการเขียนรายงานทางวิชาการ
ท าให้เกิดการรู้จักใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล และสร้างทักษะใน
การแก้ไขปัญหา
ช่วยให้ทราบข้อมูลที่แท้จริง รวมทั้งข้อบกพร่อง
ท าให้มีพัฒนาการทางวิชาการในสาขาวิชาต่างๆ
ท าให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ และข้อเท็จจริงใหม่ๆ
ส่วนประกอบ
รายงาน
ภาคผนวก (Appendix
ไม่จ าเป็ นต้องมีในรายงานทุกฉบับ
บรรณานุกรม/เอกสารอ้างอิง
เรียงตามตัวอักษร ก-ฮ หรือ A-Z (ภาษาไทยจะเรียง
ก่อนภาษาอังกฤษ
สารบัญ/สารบาญ
ท าเช่นเดียวกับ
สารบัญภาพ
จะนับภาพแรก ต่อเนื่อง
จนถึงภาพสุดท้ายใน
บอกภาพทุกภาพที่
ปรากฏในรายงานว่าอยู่
หน้าไหนบ้าง
มีหัวข้อหลักๆ/ที่
ส าคัญๆ ของแต่ละบท
ปรากฎด้วย
กิตติกรรมประกาศ
• ส่วนใหญ่พบในรายงาน
การวิจัย/วิทยานิพนธ์
เป็ นหน้าที่ใช้กล่าวขอบคุณ
ผู้ที่ให้การสนับสนุน ผู้ที่ให้
ข้อมูลต่างๆ ตลอดจนผู้ที่
เป็ นก าลังใจ ในการท า
คำนำ(Preface)
ในตอนท้าย
จะลงชื่อ
ผู้จัดท า และ
วันที่ ที่เขียน
ค าน า
ส่วนใหญ่มี 2 ย่อ
หน้า (ย่อหน้าที่
2 จะกล่าวความ
คาดหวังในการ
ท ารายงาน)
อาจจะบอกเนื้อหา(เป็ นตอน/บท)อย่างคร่าวๆ
บอกขอบเขต
และ
วัตถุประสงค์
ของการจัดท า
ประเภท
รายงานการวิจัย
เป็ นรายงานผลของการค้นคว้าวิจัย
ของอาจารย์นักวิชาการ นักวิจัย เป็ น
การศึกษาค้นคว้าลักษณะ
เดียวกับการท าวิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์
เป็ นรายงานผลของการค้นคว้าวิจัย ซึ่ง
เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาในระดับ
บัณฑิตศึกษา
ภาคนิพนธ์
ใช้เวลา 1 ภาคการศึกษา
มีลักษณะเช่นเดียวกับรายงาน
รายงานวิชาการ
ท าเป็ นกลุ่มหรือเป็ นรายบุคคล
ผู้ท ารายงานอาจเลือกหัวข้อที่สนใจเอง
หรือผู้สอนเป็ นผู้ก าหนดให
ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพื่อเสริมที่เรียนในรายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง
ในแต่ละภาคการศึกษา
ศึกษาค้นคว้าและน ามาเรียบเรียง
อย่างมีระเบียบ
ขั้นตอนการทำรายงาน
เรียบเรียงและน าเสนอรายงาน
ประเมิน วิเคราะห์ และสังเคราะห์สารสนเทศ
สืบค้นสารสนเทศในระบบมือ / ใช้ IT เป็ นเครื่องมือ
เลือกแหล่งและทรัพยากรสารสนเทศ
คิดค าส าคัญ / ค าค้น
วางโครงร่าง
ก าหนดชื่อเรื่อง
ความหมาย
การพิมพ์เรียบเรียงจากการศึกษาค้นคว้า การทดลอง การสังเกตการณ์
การส ารวจ การสัมภาษณ์ เป็ นต้น