Kategorien: Alle - การประเมิน - ความน่าเชื่อถือ - สารสนเทศ - การวิเคราะห์

von Janitsara Raham Vor 4 Jahren

201

การประเมิณ วิเคราะห์ สังเคราะสารสนเทศ

กระบวนการในการจัดการสารสนเทศเกี่ยวข้องกับการประเมิน การวิเคราะห์ และการสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับ การประเมินสารสนเทศมีความสำคัญเพราะช่วยในการคัดเลือกข้อมูลที่มีคุณค่าและน่าเชื่อถือ โดยการพิจารณาแหล่งที่มา สำนักพิมพ์ ผู้แต่ง ช่วงเวลาที่เผยแพร่ ขอบเขตเนื้อหา และความน่าเชื่อถือของข้อมูล การวิเคราะห์สารสนเทศเป็นการดึงเนื้อหาที่สอดคล้องกับประเด็นที่ต้องการศึกษาและทำการบันทึกเนื้อหา ส่วนการสังเคราะห์สารสนเทศคือการจัดกลุ่มข้อมูลที่มีแนวคิดเดียวกันและสร้างความสัมพันธ์ในแต่ละกลุ่มเพื่อรวบรวมเป็นโครงสร้างใหม่ กระบวนการเหล่านี้ต้องทำซ้ำหากพบว่าข้อมูลยังไม่ครบถ้วนหรือไม่ตรงกับความต้องการ ลักษณะของสารสนเทศที่ดีควรมีความเข้าใจง่าย น่าเชื่อถือ ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ทันสมัย และถูกต้อง หลักเกณฑ์ในการพิจารณาสารสนเทศที่ดีรวมถึงการพิจารณาแหล่งที่มา สำนักพิมพ์ ผู้แต่ง ช่วงเวลาที่เผยแพร่ ขอบเขตเนื้อหา และความน่าเชื่อถือของข้อมูล

การประเมิณ วิเคราะห์ สังเคราะสารสนเทศ

การประเมิณ วิเคราะห์ สังเคราะสารสนเทศ

Type in your name

หลักการประเมิณ
สารสนเทศนี้อยู่ในระดับใด

ตติยภูมิ

ทุติยภูมิ

ปฐมภูมิ

ตรงกับความต้องการ
ความสำคัญ
เพื่อคัดเลือกสารสนเทศที่มีคุณค่า มีความน่าเชื่อถือ
ความหมาย
การตรวจสอบว่าสารสนเทศที่ได้มานั่นสามารถ ตอบคำถามที่ตั้งไว้ได้อย่างครอบคลุม
นำบัตรบันทึกมาจัดกลุ่มตามประเด็นต่างๆ
ทำการบันทึกเนื้อหา
ดึงเนื้อหาที่สอดคล้องกับประเด็นแนวคิดที่ต้องการศึกษา
อ่านเนื้อหาทรัพยากรสารสนเทศที่ประเมิณว่า สามารถนำไปใช้ได้จริงๆ
ครบถ้วน ต้องกลับไปเริ่มที่กระบวนการแสวงหาคำตอบใหม่
ประเมิณโครงร่างที่ได้ ครอบคลุมทั่วหรือไม่ กรณีไม่
นำแนวคิดต่างๆที่เราได้สร้างความสัมพันธ์ในแต่ละกลุ่ม ของแนวคิด มารวบรวมเป็นโครงสร้างใหม่ในรูปของโครร่าง
นำสารสนเทศที่มีแนวคิดเดียวกันมาจัดกลุ่มอีกครั้ง เพื่อสร้างความสัมพันธ์ตามลำดับขั้น
จัดกลุ่มสารสนเทศที่มีแนวคิดเดียวกัน ไว้ด้วยกัน

การเลือกใช้สารสนเทส

การสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์สารสนเทศ
การประเมิณสารสนเทศ

หลักเกณฑ์ในการพิจารณาสารสนเทศที่ดี

พิจารณาช่วงเวลาที่เผยแพร่
พิจารณาให้ตรงกับความต้องการ
พิจารณาขอบเขตเนื้อหา
พิจารณาแหล่งที่มาของ สารสนเทศ
พิจารณาสำนักพิมพ์
พิจารณาผู้แต่ง
พิจารณาความน่าเชื่อถือ
ความเที่ยงตรง
ความถูกต้อง

ลักษณะของสารสนเทศที่ดี

ทันสมัย
เข้าใจง่าย
สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
มีความน่าเชื่อถือ
ต้องมีความถูกต้อง