Catégories : Tous - input

par Tamonwan Somsri Il y a 5 années

224

บทที่ 2 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

1: ภาษี, บุคคลธรรมดา, ห้างหุ้นส่วน, คณะบุคคล, มรดก, เงินได้ Input 2: ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป็นเรื่องของการเก็บภาษีจากบุคคลทั่วไปที่มีรายได้ตามที่กฎหมายกำหนด บุคคลธรรมดาคือบุคคลที่มีชีวิตจนถึงแก่ความตาย และรวมถึงห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่ไม่ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนสามัญประกอบด้วยบุคคลธรรมดาตั้งแต่สองคนที่ตกลงเข้าทุนและแบ่งปันผลกำไร ส่วนคณะบุคคลอาจไม่มีวัตถุประสงค์ในการแบ่งปันผลกำไร ผู้ที่ถึงแก่ความตายในระหว่างปีภาษีจะต้องเสียภาษีจากรายได้ที่เกิดขึ้นก่อนและหลังการตาย โดยผู้จัดการมรดกหรือทายาทเป็นผู้ยื่นรายการภาษีแทน กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่งต้องเสียภาษีหากมีรายได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด วิสาหกิจชุมชนที่เป็นห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลก็ต้องเสียภาษีจากรายได้ที่เกิดขึ้นทั้งในและนอกประเทศ

บทที่ 2
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

บทที่ 2 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

เงินได้ที่ได้รับการยกเว้นภาษี

เงินที่ได้รับจากหุ้นส่วนสามัญ
เงินได้ที่คํานวณได้จากมูลค่าของเครื่องแบบซึ่งลูกจ้างได้รับจากนายจ้าง ในจํานวนคน ละไม่เกินสองชุดต่อปี และเสื ้อนอกในจํานวนคนละไม่เกินหนึ่งตัวต่อปี
เงินได้ส่วนที่เป็นค่ารักษาพยาบาลที่นายจ้างจ่ายให
เงินได้ที่ได้รับจากการอุปการะโดยหน้าธรรมจรรยา
การขายสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดก หรือสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาซึ่งเสน่หา
ดอกเบี้ย
ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารในราชอาณาจักร
ดอกเบี้ยเงินฝากประเภทออมทรัพย์ที่ได้รับจากสหกรณ์
ดอกเบี้ยสลากออมสิน ประเภทฝากเผื่อเรียก
เบี้ยประชุมกรรมาธิการหรือกรรมการ หรือค่าสอน ค่าสอบที่ทางราชการหรือ สถานศึกษาของทางราชการจ่ายให้
ค่าเบี้ยเลี้ยง หรือ ค่าพาหนะ

แหล่งเงินได้

เงินได้จากแหล่งนอกประเทศ
ทรัพย์สินที่อย่ในต่างประเทศ
2 กิจการที่ทําในต่างประเทศ
หน้าที่งานที่ทําในต่างประเทศ
เงินได้เกิดจากแหล่งในประเทศ
ทรัพย์สินที่อย่ในประเทศไทย
กิจการของนายจ้างในประเทศไทย
กิจการที่ทําในประเทศไทย
หน้าที่งานที่ทําในประเทศไทย

เงินได้พึงประเมิน

เครดิตภาษีเงินปันผล คือ เครดิตภาษีเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งกําไรที่ได้รับจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
เครดิตภาษี = อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล x เงินปันผลหรือส่วนแบ่งกําไรที่ได้รับ/ 100 -อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล
เงินค่าภาษีอากรที่ผ้จ่ายเงินหรือผู้อื่นออกแทนให้
ประโยชน์ซึ่งอาจคิดคํานวณได้เป็นเงิน หมายถึง สิ่งที่ได้รับมากไม่ใช่เงินหรือทรัพย์สินแต่เป็นประโยชน์ที่ได้รับซึ่งสามารถนํามาคํานวณได้เป็นตัวเงิน
ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคํานวณได้เป็ นเงิน หมายถึง ทรัพย์สินหรือสิ่งที่ได้รับและสามารถคิดคํานวณได้เป็นเงินในระหว่างปีภาษีนั้น
เงิน หมายถึง เงินตราไทย หรือเงินตราต่างประเทศ หรือตราสารที่มีค่าเสมือนเงินสดที่ได้รับ

ฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา = ฐานภาษี(เงินได้สุทธิ) x อัตราภาษ
ฐานภาษี(เงินได้สุทธิ) = เงินได้พึงประเมิน – ค่าใช้จ่าย - ค่าลดหย่อน
เมื่อพิจารณาแล้วว่าเป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สิ่งที่ต้องทราบต่อไปคือ ฐานภาษีและอัตราภาษี เพื่อที่จะคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่ต้องชําระ

บุคคลที่ได้รับการยกเว้นภาษี

บุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติอเมริกันซึ่งเป็นลูกจ้างหรือพนักงานของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
เงินได้ที่ผู้ว่าการ ผู้ว่าการสํารอง กรรมการ กรรมการสํารอง พนักงาน ลูกจ้าง รวมทั้งผู้เชี่ยวชาญซึ่งปฏิบัติงานของธนาคารพัฒนาเอเชีย
บุคคลตามที่กําหนดไว้ในความตกลงระหว่างรัฐบาลไทยกับองค์การรัฐมนตรี ศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
พนักงานระหว่างประเทศซึ่งมีชื่อส่งไป
ผู้อํานวยการซีเมส หรือพนักงานใดๆ
บุคคลที่อยู่ในประเทสที่มีอนุสัญญาว่าด้วยการเว้นการเก็บภาษีซ้อน
สถานเอกอัครราชทูต สถานทูต สถานกงสุล บุคคลในคณะทูต บุคคลในคณะกงสุล และบุคคลที่ถือว่าอยู่ในคณะทูตตามความตกลง
องค์การสหประชาชาติ
คคลตามข้อผูกพันที่ประเทศไทยมีอยู่ตามสัญญาว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจ

ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

วิสาหกิจชุมชน
ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน เฉพาะที่เป็นห้างหุ้นสามัญ หรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล
ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล
***ทั้งนี้ห้างหุ้นส่วนสามัญและคณะบุคคลดังกล่าวไม่มีลักษณะเป็นนิติบุคคล เนื่องจากไม่มีการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล***
คณะบุคคล

คณะบุคคล มีลักษณะเหมือนกับห้างหุ้นส่วนสามัญ คือ คณะบุคคลต้องประกอบด้วยบุคคลธรรมดาตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ตกลงกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งร่วมกัน โดยไม่จําเป็นต้องมีวัตถุประสงค์ที่จะแบ่งปันผลกําไรที่จะพึงได้จากกิจการร่วมกัน

ห้างหุ้นส่วนสามัญ

ห้างหุ้นส่วนสามัญ หมายถึง การที่บุคคลธรรมดาตั ้งแต่ 2 คนขึ้นไป ตกลงเข้าทุนกันโดยมีวัตถุประสงค์ในการที่จะแบ่งปันผลกําไรที่พึงได้จากกิจการที่ทําร่วมกัน

กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง
กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง หมายถึง ทรัพย์สินของผู้ตายในปีถัดจากปีที่ถึงแก่ความตาย แต่ยังไม่ได้แบ่งให้ทายาท และกองมรดกดังกล่าวได้ก่อให้เกิดเงินได้พึงประเมินถึงเกณฑ์ขั้นตํ่าตามที่กฎหมายกําหนด
ผู้ถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี
ผู้ถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี หมายถึง บุคคลธรรมดาที่มีเงินได้ถึงเกณฑ์ขั้นตํ่าต้องเสียภาษี แต่ถึงแก่ความตายก่อนยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีหรือในระหว่างปีภาษี เงินได้ที่ผู้ตายได้รับก่อนและหลังในปีที่ถึงแก่ความตายต้องนํามาเสียภาษีเงินได้ ทั้งนี้ประมวลรัษฎากรได้กําหนดให้ผู้จัดการมรดกหรือทายาท หรือผู้ครอบครองทรัพย์มรดกเป็นผู้ยื่นรายการเสียภาษีแทนผู้ตาย
บุคคลธรรมดา
บุคคลธรรมดา หมายถึง บุคคลโดยทั่วไปที่มีชีวิต โดยสภาพบุคคลย่อมเริ่มตั้งแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก และสิ้นสุดลงเมื่อถึงแก่ความตาย

ประเภทเงินได้พึงประเมินและการหักค่าใช้จ่าย

เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 8
เงินได้จากการธุรกิจ การเกษตร การ อุตสาหกรรม การขนส่ง การขายอสังหาริมทรัพย์ หรือการอื่นๆ

หักตามความจําเป็นและสมควร หรือ หักตามอัตราเหมาในอัตราร้อยละตามที่กฎหมายกําหนด

เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 7
เงินได้จากการรับเหมาที่ผู้รับเหมาต้อง ลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระไปเอง

หักตามความจําเป็นและสมควร หรือ หักตามอัตราเหมาในอัตราร้อยละ 60

เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 6
เงินได้จากวิชาชีพอิสระ

-เงินได้จากการประกอบวิชาชีพอิสระ การประกอบโรคศิลป ให้หักค่าใช้จ่ายร้อยละ 60 -เงินได้จากการประกอบวิชาชีพอิสระอื่นๆ ให้หักค่าใช้จ่าย ร้อยละ 30

เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 5
เงินได้จากการให้เช่าทรัพย์สิน เงินหรือ ประโยชน์อย่างอื่นที่ได

บ้าน โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น หรือแพ ร้อยละ 30 ที่ดินที่ใช้ในการเกษตรกรรม ร้อยละ 20 ที่ดินที่มิได้ใช้ในการเกษตรกรรม ร้อยละ 15 ยานพาหนะ รัอยละ 30 ทรัพย์สินอย่างอื่น ร้อยละ 10

เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 4
ดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบี้ยเงินฝาก ดอกเบี้ยหุ้นกู้ ดอกเบี้ยตั๋วเงิน ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ไม่ว่าจะมีหลักประกันหรือไม่ ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่อยู่ในบังคับต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย

สําหรับเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 4 ในการคํานวณภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดากฎหมายไม่ยอมให้หักค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น

เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 3
ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิทธิ์ หรือสิทธิ
***ถ้ามีเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1 และ 2 ในการคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาให้นําเงินได้พึงประเมินทั ้ง 2 ประเภทรวมกันและสามารถหักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาได้ร้อยละ 50 ของเงินได้ แต่เมื่อรวมกันแล้วต้องไม่เกิน 100,000 บาท
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 2
เงินได้เนื่องจากหน้าที่หรือตําแหน่งงาน ที่ทํา หรือจากการรับทํางานให้

หักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาได้ร้อยละ 50 ของเงินได้ แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 100,000 บาท

เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1
เงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน เงินเดือน

หักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาได้ร้อยละ 50 ของเงินได้ แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 100,000 บาท

อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

5,000,00ขึ้นไป อัตราภาษี 35%
2,000,001-5,000,000 บาท อัตราภาษี 30%
1,000,001-2,000,000 บาท อัตราภาษี 25%
750,001-1,000,000 บาท อัตราภาษี 20%
500,001-750,000 บาท อัตราภาษี 15%
300,001-500,000 บาท อัตราภาษี 10%
150,001-300,000 บาท อัตราภาษี 5%
0-150,000บาทแรก ได้รับการยกเว้นภาษี

ค่าลดหย่อน

เงินบริจาค
เงินบริจาคหักได้ตามที่จ่ายจริง

การบริจาคให้วัด สภากาชาดไทย

เงินบริจาค หักได้ 2 เท่าของที่จ่ายจริง

เงินสนับสนุนเพื่อการศึกษาให้แก่สถานศึกษาของรัฐ และโรงเรียนเอกชน

เป็นเงินเท่านั้น

วัดวาอาราม สภากาชาดไทย สถนศึกษาของทางราชการหรือเอกชน สถานพยาบาลของรัฐ สถานสาธารณกุศล กองทุนสวัสดิการภายในส่วนราชการ

เงินสะสมจ่ายเข้ากองทุนสํารองเลี้ยงชีพ หักได้ตามจ่ายจริง แต่ไม่เกิน 10,000 บาทเงินที่จ่ายสะสมเข้ากองทุนนี้ ต้องไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 3 แต่ไม่เกินร้อยละ 15 ของค่าจ้าง
เบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดาของผ้มีเงินได้และคู่สมรส จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 15,000 บาท
เบี้ยประกันสุขภาพของผ้มีเงินได้ หักลดหย่อนได้ตามจ่ายจริง แต่ไม่เกิน 15,000 บาท
เบี้ยประกันชีวิต
เบี้ยประกันชีวิตแบบบํานาญ

หักลดหย่อนได้ในอัตราร้อยละ 15 ของ เงินได้ที่นํามาเสียภาษีเงินได้ในแต่ละปี แต่ไม่เกิน 200,000 บาท

ส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 90,000 บาท ยกเว้นเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย

หักลดหย่อนได้10,000 บาท

เบี้ยประกันชีวิต หักได้ตามจ่ายจริง แต่ไม่เกิน 10,000 บาท กรมธรรม์ประกันชีวิตมีกําหนดเวลาตั ้งแต่ 10 ปีขึ้นไป

อุปการะเลี้ยงดูคนพิการหรือคนทุพพลภาพ คนละ 60,000 บาท
บิดามารดาของผ้มีเงินได้ หรือคู่สมรส คนละ 30,000 บาท
อยู่ในความอุปการะเลี ้ยงดูของผู้มีเงินได้
บิดามารดาที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป
บุตร คนละ 30,000 บาท
บุตรต้องอยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของผู้มีเงินได้
ศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ
อายุไม่เกิน 25 ปี และยังศึกษาในชั ้นอุดมศึกษาหรือในมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหรือชั้นอุดมศึกษา
เป็นผู้เยาว์
ค่สมรสของผ ู้มีเงินได้ 60,000 บาท
ต้องเป็นสามีหรือภรรยาชอบด้วยกฎหมาย
ผู้มีเงินได้ 60,000 บาท
ค่าลดหย่อน หมายถึง รายการต่างๆที่กฎหมายได้กําหนดให้หักได้เพิ่มขึ้นหลังจากได้หักค่าใช้จ่ายแล้ว เพื่อเป็นการบรรเทาภาระภาษีตามสถานภาพของผู้มีเงินได้

การคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

การคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปี
การคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่มีเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 5-8 ในเดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายน ภ.ง.ด94

วิธีการเสียภาษี

การเสียภาษีโดยการหักภาษี ณ ที่จ่าย
การเสียภาษีโดยการประเมินของเจ้าพนักงาน
การเสียภาษีโดยการประเมินตนเอง
การขอผ่อนชําระภาษี

ต้องชําระจํานวนตั ้งแต่ 3,000 บาทขึ้นไป ผ่อนชําระภาษีได้เป็น 3 งวด เท่าๆกัน

แบบแสดงรายการที่ใช้

ภ.ง.ด. 94 ยื่นครึ่งปีสําหรับผู้มีเงินได้พึงประเมิน เฉพาะประเภทที่ 5, 6, 7, 8

ภ.ง.ด. 93 มีเงินได้ขอชําระภาษีล่วงหน้า

ภ.ง.ด. 91 มีเฉพาะเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1 (ม.40(1)) ประเภทเดียว

ภ.ง.ด. 90 มีเงินได้พึงประเมินทุกประเภท