Kategóriák: Minden - สื่อสาร

a Aimma psn 6 éve

1205

การสื่อสารข้อมูล

การสื่อสารข้อมูลสามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทหลักคือ การใช้สื่อกลางแบบใช้สายและแบบไร้สาย สื่อกลางแบบใช้สายรวมถึงสายโคแอกเชียล สายคู่บิดเกลียวที่มีทั้งแบบมีการกั้นสัญญาณรบกวนและไม่มีการกั้นสัญญาณรบกวน ซึ่งสามารถส่งข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังมีการใช้เส้นใยแก้วนำแสงหรือไฟเบอร์ออฟติกส์ที่มีความสามารถในการส่งข้อมูลในระยะไกล ในทางกลับกัน สื่อกลางแบบไร้สายประกอบด้วยสัญญาณดาวเทียมที่สามารถครอบคลุมพื้นที่กว้างขวาง สัญญาณไมโครเวฟที่ส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง บลูทูธที่ใช้ในการสื่อสารระยะสั้น อินฟราเรดที่มีลักษณะสัญญาณเป็นคลื่นความถี่สั้น และคลื่นวิทยุที่ใช้ในการส่งคลื่นไปในอากาศเพื่อส่งข้อมูลไปยังเครื่องรับวิทยุ ทั้งสองประเภทของสื่อกลางมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาการสื่อสารข้อมูลในยุคปัจจุบัน

การสื่อสารข้อมูล

การสื่อสารข้อมูล

เกณฑ์การวัดประสิทธิภาพเครือข่าย

3.ความปลอดภัยของข้อมูล (Security)
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
ระบบป้องกันบุคคลที่ไม่มีสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล
ความน่าเชื่อถือ (Reliability)
ระยะเวลาที่ฝช้ในการกู้ระบบคืน กรณีที่เกิดความล้มเหลว
ความถี่ของความล้มเหลว
สมรรถนะ (Performance)
สมรรถนะของระบบเครือข่ายวัดได้จาก เวลาที่ใช้ในการส่งข้อมูลซึ่งหมายถึงเวลาที่ข้อมูล ข่าวสารเดินทางจากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอีกอุปกรณืหนึ่ง

สื่อกลางส่งข้อมูล

การส่งสัญญาณบนสื่อกลางแบบเบสแบนด์(Baseband)
เป็นการใช้ช่องทางการสื่อสารเพียงช่องทางเดียวสําหรับการส่งสัญญาณดิจิทัลในแต่ละครั้งในช่วงเวลาหนึ่ง โดยเครือข่ายคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่มักใช้การส่งสัญญาณชนิดนี้เนื่องจากเป็นวิธีการที่ไม่ซับซ้อนและสามารถจัดการควบคุมง่าย
การส่งสัญญาณบนสื่อกลางแบบบรอดแบนด์ (Broadband)
เป็นการใช้ช่องทางการสื่อสารหลายช่องทางเพื่อส่งสัญญาณแอนะล็อก

องค์ประกอบพื้นฐานของระบบสื่อสารข้อมูล

โพรโทคอล (protocol)
กฏเกณฑ์ ระเบียบ หรือข้อปฏิบัติต่างๆ ที่กำหนดขึ้นมาเพื่อเป็นข้อตกลงในการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับและผู้ส่ง
สื่อกลางในการส่ง ข้อมูล (transmission media)
สิ่งที่ทำหน้าที่ในการรับส่งข้อมูลข่าวสารไปยังจุดหมายปลายทาง โดยการสื่อกลางในการส่งข้อมูลจะมีทั้งแบบมีสาย เช่น สายเคเบิล สายยูทีพี สายไฟเบอร์ออพติก และสื่อกลางในการส่งข้อมูลแบบไร้สาย เช่น คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ และดาวเทียม
ผู้รับ (receiver)
คนหรืออุปกรณ์ที่ใช้สำหรับรับข้อมูล/ข่าวสารที่ทางผู้ส่งข้อมูลส่งให้ซึ่ง อาจเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ เป็นต้น
ผู้ส่ง (sender)
คนหรืออุปกรณ์ที่ใช้สำหรับส่งข้อมูล/ข่าวสาร ซึ่งอาจเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ กล้องวีดีทัศน์

การพิจารณาสื่อกลางส่งข้อมูล

สภาพแวดล้อม
เป็นปัจจัยสําาคัญอย่างหนึ่งในเลือกใช้สื่อกลาง เช่น สภาพแวดล้อมที่เป็นโรงงานอุตสาหกรรม
ความปลอดภัย
ความปลอดภัยในเรื่องของการลักลอบ หรือจารกรรมข้อมูลบน เครือข่ายสามารถเกิดขึ้นได้จากแฮกเกอร์ ด้วยการดักจับสัญญาณบน เครือข่าย ดังนั้นระบบที่ต้องการความปลอดภัยสูง
ระยะทาง
สื่อกลางส่งข้อมูลแต่ละชนิด มีขีดความสามารถในการส่งสัญญาณได้ ไกล บนระยะทางที่แตกต่างกัน ดังนั้นกรณีที่ต้องการเชื่อมโยงสายส่ง ข้อมูลที่มีระยะทางไกลๆ เป็นกิโลเมตร ก็ควรใช้สายส่งข้อมูลที่ เหมาะสม
ความเร็ว
สำหรับการการประเมินคุณสมบัติด้านความเร็วของสื่อกลาง ส่งข้อมูล จะพิจารณาจาก ความเร็วในการส่งผ่านสัญญาณ คือความเร็วในการส่งข้อมูล ซึ่งสามารถคำนวณได้จาก จำนวนบิตต่อวินาที
ต้นทุน (Speed)
แน่นอนว่า สื่อกลางแต่ละชนิด แต่ละประเภทย่อมมีต้นทุนที่แตกต่าง กัน เนื่องจากวัสดุที่นำมาผลิตสื่อกลางแต่ละชนิด ทำมาจากวัสดุที่ แตดต่างกัน

ชนิดของสื่อกลางส่งข้อมูล

สื่อกลางส่งข้อมูลแบบไร้สาย
อินฟราเรด (Infrared)

ลักษณะของสัญญาณอินฟราเรดเป็นคลื่นความถี่สั้น ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับคลื่นไมโครเวฟตรงที่การส่งสัญญาณเป็นแนวเส้นตรงในระดับสายตาเหมือนกัน

บลูทูธ (Bluetooth)

ระบบสื่อสารของอุปกรณ์อิเล็คโทรนิคแบบสองทาง ด้วยคลื่นวิทยุระยะสั้น (Short-Range Radio Links) โดยปราศจากการใช้สายเคเบิ้ล หรือ สายสัญญาณเชื่อมต่อ

สัญญาณดาวเทียม (Satellite)

สถานีดาวเทียม 1 ดวง สามารถมีเครื่องทบทวนสัญญาณดาวเทียมได้ถึง 25เครื่องและสามารถครอบคลุมพื้นที่การส่งสัญญาณได้ถึง1ใน 3ของ

ลักษณะของสัญญาณดาวเทียมเป็นการรับส่งสัญญาณข้อมูลอาจจะเป็นแบบจุดต่อจุด (Point-to-Point) หรือแบบแพร่สัญญาณ (Broadcast)

สัญญาณไมโครเวฟ (Microwave)

เป็นสื่อกลางในการสื่อสารที่มีความเร็วสูง ส่งข้อมูลโดยอาศัยสัญญาณไมโครเวฟ ซึ่งเป็นสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปในอากาศพร้อมกับข้อมูลที่ต้องการส่ง

คลื่นวิทยุ (Radio Wave)

วิธีการสื่อสารประเภทนี้จะใช้การส่งคลื่นไปในอากาศ เพื่อส่งไปยังเครื่องรับวิทยุโดยรวมกับคลื่นเสียงมีความถี่เสียงที่เป็นรูป แบบของคลื่นไฟฟ้า

สื่อกลางแบบใช้สาย
เส้นใยแก้วนำแสง หรือ ไฟเบอร์ออฟติกส์ (Fiber Optic Cable)
สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable)
สายคู่บิดเกลียว (twisted pair cable)

สายคู่บิดเกลียวมี 2 ชนิด

สายคู่บิดเกลียวชนิดมีการกั้นสัญญาณรบกวน (Shielded Twisted Pair : STP)

สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่มีการกั้นสัญญาณรบกวน(Unshielded Twisted Pair :UTP)

สายคู่บิดเกลียวสามารถใช้ส่งข้อมูลจำนวนมากเป็นระยะทางไกลได้หลายกิโลเมตร เนื่องจากราคาไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี น้ำหนักเบา ง่ายต่อการติดตั้ง จึงนิยมใช้งานอย่างกว้างขวาง ตัวอย่างสายคู่บิดเกลียว

สายนำสัญญาณแบบนี้แต่ละคู่สายที่เป็นสายทองแดงจะถูกพันบิดเป็นเกลียว เพื่อลบการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียงภายในสายเดียวกันหรือจากภายนอก ทำให้สามารถส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลเบื้องต้น

นอกจากนี้อาจจะมีผู้รับผิดชอบในการกำหนดกฏเกณฑ์ในการส่งหรือรับข้อมูลตามรูปแบบที่ต้องการ
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์สำหรับควบคุมการส่งและการไหลของข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง
การโอนถ่าย (Transmission) ข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางกับปลายทาง โดยใช้อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์