カテゴリー 全て - เงินได้ - ประเภท - ภาษี

によって Panitphon Mongkhon 5年前.

898

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หัก ณ ที่จ่าย

กฎหมายภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่ายในประเทศไทยเป็นเรื่องสำคัญที่ผู้เสียภาษีต้องเข้าใจอย่างถี่ถ้วน มาตราต่างๆ ในกฎหมายนี้ระบุถึงประเภทของเงินได้ที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย รวมถึงรายละเอียดเกี่ยวกับการจ่ายเงินได้ในรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเงินค่าจ้าง ค่าบริการ รางวัลจากการประกวด หรือแม้กระทั่งเงินปันผลและดอกเบี้ย การจัดการและการหักภาษีที่ถูกต้องตามมาตราเหล่านี้ช่วยให้การจัดการภาษีเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและลดความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นระหว่างผู้เสียภาษีและกรมสรรพากร การทำความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของเงินได้และวิธีการหักภาษีที่ถูกต้องสามารถช่วยลดภาระทางกฎหมายและสร้างความมั่นใจในเรื่องการเสียภาษีของผู้เสียภาษี นอกจากนี้ กฎหมายยังครอบคลุมถึงการจ่ายเงินที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการขาย การซื้อขายสินค้า และการเช่าทรัพย์สิน ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการและบุคคลทั่วไปต้องรู้และปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
หัก ณ ที่จ่าย

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หัก ณ ที่จ่าย

ความผิดทางภาษี

ความผิดทางอาญา
ไม่ยื่นบัญชีจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(1)(2)(3)(4) หรือ (7)
ไม่ออกหนังสือรับรองการหกัภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายตามมาตรา 50 ทวิ
ไม่จัดทําบัญชีพิเศษแสดงการจ่ายเงินได้และการนําส่งภาษีตามมาตรา 17
ไม่ยื่นแบบแสดงรายการนําส่งภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ความผิดทางแพ่ง
2. ความผิดในเงินเพิ่มภาษี
1. ความผิดในจำนวนเงินภาษีหัก ณ ที่จ่าย

วัตถุประสงค์ของการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย

4. เพื่อเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบผ้มูีเงินได้วา่ได้เสียภาษีครบถ้วนถกูต้องหรือไม่
3. เพื่อลดแรงกดดันในการหลีกเลี่ยงภาษี หรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากร
2. เพื่อให้รัฐบาลมีรายได้เข้าคลงัอย่างสมํ่าเสมอ ทําให้รัฐบาลสามารถใช้จ่ายเงินในการ ดําเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงัคมแห่งชาติได้อย่างราบรื่น อนัจะ ก่อให้เกิดสภาพคลอ่ง และลดภาวะการเงินตงึตวัในระบบเศรษฐกิจของประเทศ
1. เพื่อบรรเทาภาระการเสียภาษีให้แก่ผู้รับเงินได้ ให้ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้ในคราว เดียวกันเป็นเงินจํานวนมาก เม่ือถึงกําหนดเวลายื่นรายการเสียภาษี แต่ให้เสียภาษีเป็นคราวๆ ไปทีละ น้อยตามจํานวนเงินที่ได้รับแตล่ะคราว

หลักเกณฑ์การหักภาษี ณ ที่จ่าย

3. ผ้รูับเงินได้ต้องเป็นผ้มูหีน้าที่เสียภาษีเงินได้บคุคลธรรมดา หรือผ้มูีหน้าที่เสียภาษีเงินได้ นิติบุคคล และหากเป็นการจ่ายเงินได้พึงประเมินให้แก่ผู้รับซึ่งไม่มีหน้าท่ีเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หรือภาษีเงินได้นิติบคุคลผู้จ่ายไม่มีหน้าที่ต้องหกัภาษี ณ ที่จ่าย เช่น จ่ายเงินได้ให้แก่กระทรวง ทบวง กรม มหาวิทยาลัยของรัฐ พรรคการเมือง สหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร
2. ต้องเป็นการจ่ายเงินได้พึงประเมินตามความหมายที่กําหนดไว้ในมาตรา 39 (ได้กล่าว ไว้ในบทที่ 2 ภาษีเงินได้บคุคลธรรมดา) และไมไ่ด้รับการยกเว้นภาษี
1. ผ้มูีหน้าที่หกัภาษี ณ ที่จ่าย ได้แก่ บุคคลธรรมดา คณะบุคคล ห้างห้นุส่วนสามัญหรือ นิติบุคคลทุกประเภท รวมทัง้ตัวแทนของผู้จ่ายเงินได้ดังกล่าว และต้องมีคุณสมบัติตามที่กฎหมาย กําหนด

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย

2. มาตรา 3 เตรส
18 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (8) ที่เป็นค่าซื้อสัตว์น้ำทั้งที่มีชีวิต และไม่มีชีวิตและส่วนต่างๆ ของสัตว์น้ำไม่ว่าจะสดหรือแช่เย็น แช่เย็นจนแข็งหรือกระทําด้วย ประการใดๆ เพื่อรักษาไว้มิให้เปื่อยเน่าในระหว่างการขนส่ง
17 การจ่ายเงินได้พึงประเมินประเภทตามมาตรา 40 (8) เฉพาะที่เป็นการจ่ายเงินได้ จากการซื้อขายสินค้าไม่ต้องหกัภาษี ณ ที่จ่าย
16 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(8) ที่เป็นเงินค่าขนส่ง
15 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (8) ท่เีป็นเงินค่าเบี้ยประกันวินาศภัย เช่น ค่าเบี้ยประกันอัคคีภัย ค่าเบี้ยประกันรถยนต์ ค่าเบี้ยประกันในการขนส่งสินค้า
14 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(8) ที่เป็นเงินรางวัล ส่วนลด หรือ ประโยชน์ใดๆ เนื่องจากการส่งเสริมการขาย
13 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (8) เฉพาะที่เป็นเงินได้จากการ ให้บริการ
12 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (8) ที่เป็นเงินค่าโฆษณา
11 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(8) เฉพาะที่เป็นค่านักแสดงสาธารณะ
10 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (8) เฉพาะที่เป็นเงินรางวัลการ ประกวด การแข่งขัน การชิงโชค หรือการอื่นใดอันมีลักษณะทำนองเดียวกัน
9 การจ่ายเงินได้พึงประเมินที่เป็นค่าจ้างทำของ
8 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(7) และมาตรา 40(8) เฉพาะที่เป็นค่าจ้าง ทำของ
7 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (6) จากวิชาชีพอิสระ
6 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(5) (ก) จากการเช่าทรัพย์สิน
5 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (4) (ข) จ่ายเงินปันผล เงินส่วนแบ่งของ กาํไร หรือประโยชน์อื่นใด
4 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (4) (ก) เฉพาะดอกเบี้ย
3 การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4) (ก) เฉพาะที่เป็นดอกเบี้ยพันธบัตร และดอกเบี้ยหุ้นกู้
2 การจ่ายดอกเบี้ยตามมาตรา 40(4) (ก) ทุกประเภท
1 การจ่ายเงนิได้พึงประเมินตามมาตรา 40(2) และมาตรา 40(3)
1. มาตรา 50
5. กรณีจ่ายเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 8
4. กรณีจ่ายเงินได้พึงประเมินประเภทที่5, 6, 7 และ 8
3. กรณีจ่ายเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 5 และ 6
2 กรณีจ่ายเงินได้พึงประเมินประเภทที่3และ 4
1. กรณีการจ่ายเงินได้พึงประเมินประเภทที่1และ 2

ประเภทของภาษีเงนิได้หัก ณ ที่จ่าย

2. ภาษีเงินได้นิตบิุคคลหัก ณ ท่จี่าย
1. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ท่ีจ่าย