カテゴリー 全て - ความน่าเชื่อถือ - เนื้อหา

によって Kanison Janopon 5年前.

268

การประเมินวิเคราะห์และสังเคราะสารสนเทศ

การประเมินและการสังเคราะห์สารสนเทศเป็นกระบวนการสำคัญในการตรวจสอบและจัดการข้อมูลที่ได้มา ความน่าเชื่อถือเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณาโดยดูจากความถูกต้องและความเที่ยงตรงของสารสนเทศ รวมทั้งแหล่งที่มาของข้อมูลเช่นผู้แต่งและสำนักพิมพ์ ขอบเขตของเนื้อหาควรตรงกับความต้องการและช่วงเวลาที่เผยแพร่ก็มีผลในการพิจารณา การสังเคราะห์สารสนเทศคือการจัดการกลุ่มข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันแล้วนำมาจัดกลุ่มใหม่ในลักษณะลำดับชั้นหรือโครงร่างเพื่อให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของข้อมูล การเลือกใช้สารสนเทศควรพิจารณาถึงความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความน่าเชื่อถือ การวิเคราะห์สารสนเทศเริ่มจากการอ่านจับใจความสำคัญ พิจารณาเนื้อหาที่สอดคล้องกับประเด็นที่ต้องการศึกษา และบันทึกสารสนเทศที่สำคัญเพื่อจัดกลุ่มเนื้อหาต่อไป

การประเมินวิเคราะห์และสังเคราะสารสนเทศ

การประเมินวิเคราะห์และสังเคราะสารสนเทศ

การวิเคราะห์สารสนเทศ

1. อ่านจับใจความสำคัญของเรื่อง 2. พิจรณาเนื้อหาสารสนเทศที่สอดคล้องกับประเด็นแนวคิดต่างๆ ที่้องการจะศึกษา 3. บันทึกสารสนเทศที่สอดคล้อง กับเรื่องที่ต้องการเช่น - คำสำคัญ/แนวคิด 4.จัดกลุ่มเนื้อหา

การประเมินสารสนเทศ

ความหมาย คือ การตรวจสอบว่าสารสนเทศที่ได้มานั้น สามารถตอบคำถามที่ตั้งไว้ได้ละเอียดครอบคลุมทุกประการมีคำอธิบายที่เป็นเหตุเป็นผลและมีเอกสารอ้างอิงที่มีความน่าเชื่อถือเพียงใด ความสำคัญ คือ เป็นขั้นตอนในการประเมินเพื่อคัดเลือกสารสนเทศที่เราได้จากการสืบค้นที่มีคุณค่ามความน่าเชื่อถือในทางวิชาการ เป็นการพิจารณาคัดเลือกจากแหล่งสารสนเทศ ต่างๆ ทั้งจาก ห้องสมุดและอินเทอร์เน็ต

หลักเกณฑ์ในการพิจารณาสารสนเทศที่ดี

1. พิจารณาความน่าเชื่อถือ - ความถูกต้องของสารสนเทศ - ความเที่ยงตรง 2. พิจรณาแหล่งที่มาของสารสนเทศ - พิจารณาผู็แต่ง - พิจารณาสำนักพิมพ์ 3. พิจารณาขอบเขตเนื้อหา 4. พิจารณาให้ตรงกับความตรงตามความต้องการ 5. พิจารณาช่วงเวลาที่เผยแพร่

การสังเคราะห์สารสนเทศ

: จัดการกลุ่มข้อมูลเรื่องเดียวกันหรือแนวคิดเดียวกันไว้ด้วยกันแล้วนำมาจัดกลุ่มอีกครั้งในลักษณะลำดับชั้นหรือรูปแบบโครงร่างซึ่งจะทำให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของกลุ่มข้อมูลแล้วทำการรวบรวมหรือให้ได้ข้อมูล/เนื้อหาใหม่ด้วยการใช้สำนวนภาษาของตนเองที่มีความถูกต้องตลอดจนนำเสนอในรูปแบบที่เหมาสมเพื่อแก้ปัญหา ตอบคำถามที่กำหนดไว้หรือนำไปใช้ได้ตรงจามความต้องการ

ลักษณะสารสนเทศที่ดี

- Up to date
- Tieliness
- Verifiability
- Accessible
- Relevance
- Completeness
- Reliable
- Accuracy

การเลือกใช้สารสนเทศ

3. Synthesis
2. Analysis
1. Evaluate