製品
Mind Mapping Software
Outlining Software
ガントチャートソフトウェア
用途
教育向けマインドマップ
ビジネス向けのマインドマップ
個人的な開発のためのマインドマップ
マインドマッピングの利点
リソース
特徴
教育
個人と仕事
デスクトップ
Video Tutorials
Watch tips and tricks about using Mindomo.
Help Center
Detailed help guide on configuring and using Mindomo.
記事
Top 29 Mind Map Examples
Gantt Chart Software
Concept Map Template
Free mind map software
What is a concept map?
Gantt Chart Maker
Mind Map App
Concept Map Maker
Mind map template
価格
ログイン
登録
製品
Mind Mapping Software
Outlining Software
ガントチャートソフトウェア
用途
教育向けマインドマップ
ビジネス向けのマインドマップ
個人的な開発のためのマインドマップ
マインドマッピングの利点
リソース
ブログ
Video Tutorials
Help Center
マインドマッピングとは何ですか?
オンラインでマインドマップを作成する
コンセプトマップメーカー
記事
Top 29 Mind Map Examples
Gantt Chart Software
Concept Map Template
Free mind map software
What is a concept map?
Gantt Chart Maker
Mind Map App
Concept Map Maker
Mind map template
特徴
教育
個人と仕事
デスクトップ
価格
登録
ログイン
カテゴリー
全て
-
วิจัย
-
วิเคราะห์
-
ข้อมูล
によって
KITSADA BUAKEAW
1年前.
177
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง(การสุ่ม)
การศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องกับประชากรและกลุ่มตัวอย่างมีความสำคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากไม่สามารถรวบรวมข้อมูลทั้งหมดจากประชากรได้อย่างครอบคลุมและแม่นยำ การใช้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของประชากรจะช่วยให้การวิจัยมีประสิทธิภาพมากขึ้น การสุ่มตัวอย่างเป็นกระบวนการที่ใช้ในการเลือกกลุ่มตัวอย่างที่มีความเป็นตัวแทนที่ดีจากประชากร โดยมีวิธีการสุ่มที่หลากหลายและสอดคล้องกับคุณลักษณะของประชากร การศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างช่วยประหยัดเวลา งบประมาณ และสามารถสรุปผลที่ถูกต้องแม่นยำได้รวดเร็วขึ้น การวิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างสามารถนำผลมาใช้ประโยชน์ได้อย่างสอดคล้องกับเหตุการณ์และมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น ทั้งนี้ประชากรสามารถแบ่งเป็นประชากรแบบจำกัดที่สามารถนับจำนวนได้ครบถ้วน และประชากรแบบไม่จำกัดที่ไม่สามารถนับจำนวนได้ทั้งหมด เช่น จำนวนปลาในแม่น้ำหรือจำนวนต้นไม้ในประเทศไทย
開く
もっと見る
การเขียนรายงานวิชาการ
thitirat yulekにより
การเปรียบเทียบการฝึกทักษะการตีลูกโด่งหลัง โดยใช้อุปกรณ์ริบบิ้นกับการฝึกแบบปกติในกีฬาแบดมินตัน
Wannathat Detpromにより
การเขียนโครงร่างงานวิจัย
Wasita Saedarnにより
การเขียนรายงานวิชาการ
thitirat yulekにより
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง(การสุ่ม)
ข้อจำกัดของการศึกษา/วิจัยที่ศึกษาจากประชากร ในการศึกษา
ผลการวิจัยไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง ที่จะสามารถนำผลไปใช้ ประโยชน์ได้
เป็นข้อมูลที่ไม่ลึกซึ้งและไม่ชัดเจน เนื่องจากมีประชากรจำนวนมากแต่มีเวลาที่จำกัด
ได้ข้อมูลที่มีความคลาดเคลื่อนเนื่องจากมีจำนวนมาก
ใช้แรงงานคนจำนวนมาก
ใช้งบประมาณ ค่าใช้จ่ายจำนวนมากในดารออกเก็บรวบรวมข้อมูล
ใช้ระยะเวลานานในการเก็บรวบรวมข้อมูล
จำแนกตามลักษณะของประชากร
มีลักษณะเป็นวิวิธพันธ์ (Heterogeneity)หมายถึง ประชากรในแต่ละหน่วยมีคุณลักษณะและโครงสร้างที่แตกต่างกัน
มีลักษณะเป็นเอกพันธ์ (Homogeneity) หมายถึง ประชากรในทุก ๆ หน่วยมีคุณลักษณะ/โครงสร้างที่คล้ายคลึงกัน
กระบวนการสุ่ม
การสุ่มสิ่งทดลอง
การสุ่มจำแนกกลุ่ม
วิธีการได้มาของกลุ่มตัวอย่างจากประชากรที่มีความเป็นตัวแทนที่ดี โดยในการดำเนินการสุ่มกลุ่มตัวอย่างจะมีวิธีการสุ่มที่หลากหลายที่นำมาใช้ สอดคล้องกับคุณลักษณะของประชากร
ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มตัวอย่างและประชากร
กลุ่มย่อยของประชากรเฉพาะการวิจัยที่มีความเป็นตัวแทนที่ดี หรือมีลักษณะที่คล้ายคลึงกับประชากร และมีปริมาณที่มากเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการอ้างอิงข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างสู่ประชากร
ประชากรเฉพาะการวิจัย(Incumbent Populations)หมายถึง กลุ่มประชากรขนาดเล็กที่ เป็นส่วนหนึ่งของประชากรตามสมมุติฐานที่เป็นประชากรในการวิจัยที่ได้มาเนื่องจากข้อจำกัดเกี่ยวกับกำลังคน และทรัพยากรที่ใช้ในการวิจัย
ประชากรตามสมมุติฐาน(Hypothesis Populations) หมายถึง กลุ่มย่อยของประชากรทั่วไปที่จำกัดขอบเขตตามแนวคิด ทฤษฏีที่นำมากำหนดเป็นสมมุติฐาน หรือตามความสนใจของผู้วิจัย
ประชากรทั่วไป(General or Real Populations)หมายถึง ประชากรทั้งหมดที่มีขนาดใหญ่ จำนวนสมาชิกมีมากจนกระทั่งนับไม่ได้
เหตุผลที่จำเป็นจะต้องวิจัย/ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างแทนประชากร ในการศึกษา
สามารถสรุปผลอ้างอิงไปสู่ประชากรได้
จากพิจารณาประชากรแล้วพบว่าไม่สามารถดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลได้ ครอบคลุมอาทิ ระยะทางที่ห่างไกล/อันตราย มีเวลาที่จำกัด เป็นต้น
นำผลการวิเคราะห์มาใช้ประโยชน์ได้สอดคล้องกับเหตุการณ์
มีความถูกต้อง แม่นยำมากขึ้น
ประหยัดเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อนำมาสรุปผลได้รวดเร็วมากขึ้น หรือประหยัดการใช้งบประมาณในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีค่อนข้างจำกัด
เนื่องจากการใช้กลุ่มตัวอย่างจะมีจำนวนน้อยกว่าประชากร ทำให้มีเวลาที่จะศึกษาและเก็บข้อมูลที่มีรายละเอียดได้ชัดเจนมากขึ้น
การสุ่มตัวอย่าง
ความหมายของการสุ่มตัวอย่าง
การสุ่ม(Sampling) หมายถึง กระบวนการเลือก “ตัวอย่าง” จาก “ประชากร”เพื่อให้ กลุ่มตัวอย่างเป็นตัวแทนของประชากรในการให้ข้อมูล และสามารถใช้ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง เป็นข้อมูลอ้างอิงสู่ประชากรได้อย่างสมเหตุสมผลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความเที่ยงตรงภายนอกที่สูงขึ้น (ปาริชาต สถาปิตานนท์.2546:131)
กรอบในการสุ่มตัวอย่าง(Sampling Frame) หมายถึง เอกสาร หรือบัญชีรายชื่อของประชากรที่ต้องการศึกษา ที่เป็นเกณฑ์ในการจำแนกประชากรในการวิจัยออกจากประชากรโดยทั่วไป (ปาริชาต สถาปิตานนท์.2546: 129)
กลุ่มตัวอย่าง
ความหมายกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่าง(Sample) หมายถึง บางหน่วยของประชากรที่น ามาศึกษาแทนประชากร เป้าหมายในงานวิจัยนั้น ๆ อันเนื่องจากมีข้อจำกัดในการดำเนินการวิจัยแต่จะต้องมีความเป็น ตัวแทนที่ดี และมีขนาดที่เหมาะสม
สมาชิกกลุ่มย่อย ๆ ของประชากรที่ต้องการศึกษา ที่นำมาเป็นตัวแทนเพื่อศึกษาคุณลักษณะของประชากรแล้วน าผลจากการศึกษาคุณลักษณะของกลุ่มตัวอย่าง(Statistic)ไปใช้อ้างอิงคุณลักษณะของประชากรได้(Parameter)(ปาริชาต สถาปิตานนท์.2546:130)
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประเภทของประชากร
ประชากรแบบไม่จ ากัด(Infinite Population) หมายถึง ทุก ๆ หน่วยของสิ่งที่ต้องการศึกษา แต่ไม่สามารถที่จะระบุขอบเขตหรือจ านวนได้อย่างครบถ้วน อาทิ จำนวนปลาในแม่น้ำ หรือ จำนวนต้นไม้ในประเทศไทย เป็นต้น
ประชากรแบบจำกัด(Finite Population) หมายถึง ทุก ๆ หน่วยของสิ่งที่ต้องการศึกษา ที่สามารถระบุขอบเขตหรือนับจำนวนทั้งหมดได้อย่างครบถ้วน
ความหมายของประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร หมายถึง จ านวนทั้งหมดของหน่วยซึ่งมีคุณสมบัติบางอย่างที่ผู้วิจัยสนใจศึกษาและ มีปรากฏอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ (Sedlack and Stanley,1992 : 104)
ประชากร หมายถึง คน สัตว์ และสิ่งของต่าง ๆ ที่มีคุณสมบัติตามที่ผู้วิจัยก าหนดและสนใจ ศึกษาตามเงื่อนไข 1)งานวิจัยเกี่ยวกับเรื่องอะไร 2)หน่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล คืออะไร และ ผู้วิจัยก าหนดขอบเขตของการวิจัยกว้างขวางเพียงใด มีความครอบคลุมเพื่อน าไปใช้อ้างอิงเพียงใด (ปาริชาต สถาปิตานนท์.2546:128)