Categories: All

by Wachirawit Kunee 1 year ago

594

เนื้อเยื่อพืช Plant tissue

เนื้อเยื่อถาวรของพืชแบ่งออกเป็นหลายประเภท โดยแต่ละประเภทมีหน้าที่และคุณสมบัติที่แตกต่างกัน ได้แก่ Collenchyma ซึ่งมีผนังเซลล์หนาตามมุมเซลล์และเพิ่มความยืดหยุ่นให้กับพืช ส่วน Sclerenchyma มีผนังเซลล์หนามากและมีสาร Lignin ซึ่งทำให้เซลล์แข็งแรงขึ้น Epidermis อยู่ด้านนอกสุดของพืชและมีเซลล์คุมและช่องปากใบที่ช่วยในการเปิดปิดเซลล์ Parenchyma เป็นเซลล์ที่มีหลายรูปร่างและมีช่องว่างระหว่างเซลล์ พบได้แทบทุกส่วนของอวัยวะพืช ในส่วนของเนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน ประกอบด้วย Phloem ที่ทำหน้าที่ลำเลียงสารอาหารและ Xylem ที่ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุ เนื้อเยื่อเหล่านี้เจริญมาจากเนื้อเยื่อเจริญ ซึ่งแบ่งเป็นสามระบบหลักคือ เนื้อเยื่อผิว เนื้อเยื่อพื้น และเนื้อเยื่อท่อลำเลียง เนื้อเยื่อผิวมี Epidermis ที่ป้องกันเนื้อเยื่อด้านในของพืชในระยะเติบโตปฐมภูมิ ส่วนเนื้อเยื่อพื้นมีเนื้อเยื่ออื่น ๆ ที่ไม่ใช่เนื้อเยื่อผิวและเนื้อเยื่อท่อลำเลียง และเนื้อเยื่อท่อลำเลียงประกอบด้วย Xylem และ Phloem ที่ทำหน้าที่ลำเลียงสารอาหาร น้ำ และแร่ธาตุในพืช

เนื้อเยื่อพืช
Plant tissue

เนื้อเยื่อพืช Plant tissue

ขนาดเล็ก ผนังบาง เซลล์อยู่ติดจนไม่มีช่องว่างระหว่างเซลล์

เนื้อเยื่อถาวร Permanent tissue

แบ่งได้ 3 ระบบ
เนื้อเยื่อท่อลำเลียง

มี Xylem, Phloem

เนื้อเยื่อพื้น

มีเนื้อเยื่ออื่นที่ไม่ใช่เนื้อเยื่อผิวและเนื้อเยื่อท่อลำเลียง

เนื้อเยื่อผิว

มี Epidermis ป้องกันเนื้อเยื่อด้านในพืชในระยะเติบโตปฐมภูมิ มี Periderm ที่เป็นเนื้อเยื่อเจริญแทน Epidermis ของราก ลำต้น พืชบางชนิดในระยะเติบโตทุติยภูมิ

เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน
Phloem

ประกอบด้วย Sieve tube, Companion cell, Phloem fiber, Phloem parenchyma

Companion cell เป็นช่องว่างเล็กๆที่อยู่ติดกับ Sieve tube

Sieve tube ท่อยาวที่เป็นท่อสั้นหลายท่อต่อกัน ท่อสั้นๆเรียกว่า Sieve tube member หรือ Sieve tube element

Xylem

ลำเลียงน้ำ แร่ธาตุ ประกอบด้วย Vessel, Tracheid, Xylem fiber, Xylem parenchyma

Vessel ท่อสั้นหลายท่อมาต่อกัน แต่ละท่อเรียก Vessel member, Vessel element ผนังหนามี Lignin สะสม มีช่องทะลุถึงกัน มีลักษณะรอยปรุ หรือรูพรุน เรียก Perforation plate

Tracheid ยาว หัวท้ายค่อนข้างแหลม ผนังหนา มี Lignin สะสม ผนังที่มีรูพรุน เรียก pit

เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว
Sclerenchyma

ผนังเซลล์หนามาก สารที่ฉาบคือพวก Lignin

Scleried รูปร่างหลายแบบ มีความยาวสั้นกว่า Fiber

เส้นใย(Fiber) ยาวมาก หัวท้ายแหลม ผนังหนา เป็นสารประกอบ Lignin

Collenchyma

ผนังเซลล์หนามากตามมุมเซลล์ ไม่สม่ำเสมอ เป็นการเพิ่มความยืดหยุ่น สารที่ฉาบผนัง เป็นพวก Cellulose กับ Pectin

Parenchyma

เซลล์มีหลายรูปร่าง มีช่องว่างระหว่างเซลล์ พบแทบทุกส่วนของอวัยวะพืช

Epidermis

อยู่นอกสุด มีเซลล์คุมและช่องปากใบที่ช่วยเปิดปิดเซลล์

เจริญจากเนื้อเยื่อเจริญ ประกอบด้วยเซลล์ที่เจริญเต็มที่ รูปร่างคงที่ แบ่งเซลล์ไม่ได้อีกต่อไป

กลุ่มเซลล์ที่เจริญและแบ่งตัว แบบ Mitosis ตลอดเวลา

เนื้อเยื่อเจริญ Meristematic tissue

ด้านข้าง
แบ่ง 2 ชนิด คือ

Cork cambium เกิดในชั้น cortex หรือ stele

แบ่งเซลล์ให้ Cork และเนื้อเยื่ออื่นๆ เพื่อทำหน้าที่แทนเนื้อเยื่อผิวเดิมในการ เติบโตแบบทุติยภูมิในพืชบางชนิด

Vascular cambium เกิดในกลุ่มท่อลำเลียง

แบ่งเซลล์ให้เกิดเนื้อเยื่อท่อลำเลียงเพิ่มขึ้น ในการเติบโตแบบทุติยภูมิ

เนื้อเยื่อเจริญที่แบ่งตัวออกด้านข้างลำต้น, ราก เมื่อแบ่งตัว=ลำต้น, รากขยายขนาดออกข้าง หรือใหญ่ขึ้น บ้างอาจเรียกเนื้อเยื่อเจริญด้านข้างว่า Cambium
เหนือข้อ
เมื่อแบ่งตัว=ปล้องยาว
อยู่เหนือข้อ หรือโคนของปล้องพืชใบเลี้ยงเดี่ยว Ex. ไผ่ อ้อย
ส่วนปลาย
เพิ่มจำนวนเซลล์=ราก ลำต้นยืดยาวออก
อยู่ปลายยอด(shoot tip) หรือปลายราก(root tip)