Categorieën: Alle

door Kiratika Pumpo 5 jaren geleden

196

Stages of erythriod cells development

ในกระบวนการพัฒนาเซลล์เม็ดเลือดแดง มีระยะต่าง ๆ ที่เซลล์เปลี่ยนแปลงรูปร่างและขนาดไปตามลำดับ ระยะแรกเริ่มที่สำคัญคือ Pronormoblast ซึ่งมีขนาดใหญ่และมีเส้นใยโครมาตินละเอียด จากนั้น เซลล์จะกลายเป็น Basophilic normoblast โดยมีการจับตัวของเส้นใยโครมาตินแน่นขึ้นและไซโทพลาสซึมติดสีน้ำเงินเข้ม ต่อมาเป็น Polychromatic normoblast ที่มีการสร้างฮีโมโกลบินสูงขึ้นและมีเส้นใยโครมาตินที่จับแน่นมากขึ้น ระยะต่อไปคือ Orthochromatic normoblast ซึ่งเซลล์จะมีขนาดเล็กลงและมีการสร้างฮีโมโกลบินในปริมาณมาก และสุดท้ายจะเข้าสู่ระยะ Mature red blood cell ที่มีรูปร่างกลมและมีการเว้าบริเวณตรงกลาง เซลล์จะมีสีจางบริเวณกลางเซลล์มากกว่าบริเวณขอบ ทั้งหมดนี้สะท้อนถึงกระบวนการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของเซลล์เม็ดเลือดแดงที่ซับซ้อน

Stages of erythriod cells development

Stages of erythriod cells development

Orthochromatic normoblast

เป็นระยะสุดท้ายที่มีนิวเคลียส
โครมาตินจับกันเป็นก้อนกลม
มีการสร้างฮีโมโกลบินสูง
ไซดทพลาสซึมติดสีชมพูปนเทา
เซลล์มีขนาด 8-12 ไมโครเมตร

Basophilic normoblast

มีการเริ่มสร้างฮีโมโกลบิน
ไซโทพลาสซึมติดสีน้ำเงินเข้ม
เส้นใยโครมาติน เริ่มมีการจับตัวแน่นขึ้น
ไม่พบนิวคลีโอไล
เซลล์มีขนาด 12-17 ไมโครเมตร

Mature red blood cell

จะมีสีจางประมาณ 1/3 ของเซลล์
บริเวณกลางเซลล์จะติดสีจางมากกว่าบริเวณขอบ
มีรูปร่างกลม เเละมีการเว้าบิรเวณตรงกลางเซลล์

Polychromatic normoblast

นิวเคลียสมีลักษณะคล้ายซี่ล้อ
ไซโทพลาสซึมติดสีเทา
เส้นใยโครมาตินจับกันเเน่นขึ้น
มีปริมาณ RNA สูง
มีการสร้างฮีโมโกลบินสูงขึ้น
มี N:C ratio เท่ากับ 1:1
เซลล์มีขนาด 11-15 ไมโครเมตร

Polychromasia

ยังไม่มีสีจางในบริเวณกลางเซลล์
ติดสีชมพูอมม่วง
มีขนาดใหญ่กว่าเซลล์แก่เล็กน้อย
เซลล์มีขนาด 6-8 ไมโครเมตร

Pronormoblast

พื้นที่ระหว่างนิเครียสกับไซโทพลาสซึมมีลักษณะคล้ายช่องว่างติดสีจาง
เส้นใยโครมาตินติดสีละเอียด
พบนิวคลีโอไล 1-2 อัน
มี N:C ratio เท่ากับ 4:1
นิวเคลียสมีรูปรางรี ค่อนไปด้านใดด้านหนึ่งของเซลล์
เซลล์มีขนาด 15-20 ไมโครเมตร