Kategorier: Alla - สารสนเทศ - บรรณานุกรม - รายงาน - ทักษะ

av กัญติยา เดชาสิทธิ์ för 5 årar sedan

313

การเขียนรายงาานวิชาการ

การเขียนรายงานวิชาการมีประโยชน์หลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ การเพิ่มทักษะในการเขียนอย่างมีเหตุผล และการพัฒนาทางวิชาการในสาขาต่างๆ ส่วนประกอบที่สำคัญของรายงานวิชาการประกอบด้วยหน้าปก คำนำ สารบัญ เนื้อหา บรรณานุกรม และภาคผนวก การทำรายงานมีขั้นตอนที่ชัดเจน เริ่มจากการประเมินและวิเคราะห์สารสนเทศ การสืบค้นข้อมูล การเรียบเรียงและนำเสนอ การเลือกแหล่งข้อมูล การกำหนดโครงเรื่อง และการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ ประเภทของรายงานวิชาการมีทั้งภาคนิพนธ์ที่มีรายละเอียดลึกซึ้งมากกว่า และรายงานวิชาการทั่วไป ทั้งนี้ ความสำเร็จของการเขียนรายงานขึ้นอยู่กับการใช้สารสนเทศจากแหล่งต่างๆ อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ

การเขียนรายงาานวิชาการ

การเขียนรายงาานวิชาการ

ประเภท

รายงานการวิจัย (Research)
เป็นรายงานผลของการค้นคว้าวิจัยของอาจารย์นักวิชาการนักวิจัย เป็นการศึกษาค้นคว้าลักษณะเดียวกับการทำวิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์(Thesis/Dissertation)
เป็นรายงานผลของการค้นคว้าวิจัย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา

ปริญญาดุษฎีบัณฑิต(Dissertation)

ปริญญามหาบัณฑิต(Thesis)

ภาคนิพนธ์(Term paper)
ใช้เวลา 1 ภาคการศึกษา
มีรายละเอียดลึกซึ้งมากกว่า
มีลักษณะเช่นเดียวกับรายงาน
รายงานวิชาการ (Reports)
ทำเป็นกลุ่มหรือเป็นรายบุคคล
ผู้ทำรายงานอาจเลือกหัวข้อที่สนใจเองหรือผู้สอนเป็นผู้กำหนดให
ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพื่อเสริมเนื้อหาที่เรียนในรายวิชาใดรายวิชาหนึ่งในแต่ละภาคการศึกษา
ศึกษาค้นคว้าและนำมาเรียบเรียงอย่างมีระเบียบ

สิ่งพิมพ์ที่่เรียบเรียงขึ้นอย่างมีระบบระเบียบจากการศึกษาค้นคว้า การทดลอง การสังเกตการณ์การสำรวจ การสัมภาษณ์

ขั้นตอนการเขียนรายงาน

การเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์
การเขียนรายการอ้างอิงและ บรรณานุกรม
การเรียบเรียงรายงาน
จัดทำโครงเรื่องครั้งสุดท้าย
การใช้สารสนเทศจากแหล่งต่างๆ
อ่านและจดบันทึก
รวบรวมบรรณานุกรม
จัดทำเค้าโครงรายงาน
กำหนดวัตถุประสงค์
เลือกและกำหนดหัวข้อการทำรายงาน

ประโยชน์ของการเขียนรายงาน

เพิ่มพูนทักษะในการเขียนรายงานทางวิชาการ
ทำให้เกิดการรู้จักใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล และสร้างทักษะในการแก้ไขปัญหา
ช่วยให้ทราบข้อมูลที่แท้จริง รวมทั้งข้อบกพร่อง
ทำให้มีพัฒนาการทางวิชาการในสาขาวิชาต่างๆ
ทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ และข้อเท็จจริงใหม่ๆ

ส่วนประกอบรายงาน

หน้าปก (Cover)
ปี การศึกษาทีทำ
ชื่อสถาบันการศึกษา
ชื่อสำนักวิชา
ชื่อวิชา
ชื่อ-นามสกุล และเลขรหัส
ชื่อของ รายงาน
ใบรองปก
หน้าปกใน
คำนำ
ในตอนท้ายจะลงชื่อผู้จัดทำและวันที่ ที่เขียนคำนำ
ส่วนใหญ่มี 2 ย่อหน้า (ย่อหน้าที่2 จะกล่าวความคาดหวังในการทรายงาน)
อาจจะบอกเนื้อหา (เป็นตอน/บท)อย่างคร่าวๆ
บอกขอบเขตและวัตถุประสงค์ ของการจัดทำ
สารบัญ
เริ่มตั้งแต่หน้าแรกยันหน้าสุดท้าย
มีหัวข้อหลักๆ/ที่สำคัญๆ ของแต่ละบทปรากฎด้วย
เนื้อหา
ความหมาย หรือนิยามประวัติความเป็นมา หรือ ภูมิหลังองค์ประกอบ/ส่วนประกอบโครงสร้าง/การทำงานเรื่องที่นำมาประยุกต์ใช้บทสรุปในแต่ละหัวข้อ
บรรณานุกรม
ภาค ผนวก
ใบรอง ปกหลัง
ปกหลัง

ขั้นตอนการทำรายงาน

เรียบเรียงและนำเสนอรายงาน
ประเมิน วิเคราะห์ และสังเคราะห์สารสนเทศ
สืบค้นสารสนเทศในระบบมือ / ใช้ IT เป็นเครื่องมือ
เลือกแหล่งและทรัพยากรสารสนเทศ
คิดคำสำคัญ / คำค้น
วางโครงเรื่องของเนื้อหา
กำหนดชื่อเรื่อง