类别 全部 - มารยาท - เนื้อหา

作者:Phanchita onkhiew 5 年以前

501

การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบเป็นเรื่องสำคัญที่ผู้ใช้งานทุกคนควรตระหนักถึง มารยาทในการติดต่อสื่อสารผ่านแชทและเครือข่ายสังคมรวมถึงการใช้อีเมลควรใช้ภาษาสุภาพ ไม่ใช้ข้อความที่ก่อให้เกิดปัญหา และไม่สวมรอยหรือแอบอ้างชื่อบุคคลอื่น การสร้างและแสดงสิทธิ์ความเป็นเจ้าของผลงานในรูปแบบเอกสาร รูปภาพ หรือวีดิทัศน์เป็นสิ่งที่ควรให้ความสำคัญ นอกจากนี้แนวทางปฏิบัติเมื่อพบเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมคือไม่ส่งต่อ ไม่แชร์ แจ้งผู้เกี่ยวข้อง และปฏิเสธการรับข้อมูล โดยหากนักเรียนพบปัญหาที่ไม่สามารถจัดการได้เองควรแจ้งครูหรือผู้ปกครอง รวมถึงประสานงานกับเจ้าหน้าที่รัฐหรือตำรวจตามความจำเป็น พ.

การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ (พั ณ ณ์ชิตา + พันธุ์ธัช 2/7)

การสร้างเเละเเสดงสิทธิ์ความเป็นเจ้าของผลงาน

ข้อมูลสาระสนเทศในรูปแบบเอกสาร รูปภาพ หรือ วีดิทัศน์ นับว่าเป็นทรัพย์สินประเ๓ทหนึ่งที่เจ้าของสามารถแสดงสิทธิ์ความเป็นเจ้าของได้หลายรูปแบบ ทั้งแบบที่ชัดเจน หรือซ่อนไว้
Subtopic

มารยาทในการติดต่อสื่อสาร

มารยาทในการใช้แชทและเครือข่ายสังคม
ไม่สวมรอยหรือแอบอ้างโดยใช้ชื่อบุลคลอื่น
ไม่ใช้ข้อความที่ชวนก่อให้เกิดปัญหา
มารยาทในการใช้อีเมล
เนื้อหาต้องไม่แสดงเจตนาไปในทางเสื่อมเสีย
ไม่ส่งอีเมลลูกโซ่
ระบุหัวเรื่อง
ตัวหนา
ใช้ภาษาสุภาพ

เเนวทางการพิจารณาเนื้อหาก่อนการเผยเเพร่ข้อมูล

การเข้าถึง
เป็นการกำหนดหรือระบุให้บุลคลหรือองค์กรใดมีสิทธิ์หรือสิทธิพิเศษในการเข้าถึงหรือได้รับสิทธิ์ภายใต้เงื่อนไขใดและมีมาตรการป้องกันอย่างไร
ทรัพย์สินหรือความเป็นเจ้าของ
ต้องรู้ว่าใครเป็นเจ้าของข้อมูล มีความสำคัญ หรือมูลค่าเพียงใด เพื่อให้การจัดการการมีความเหมาะสม
ความถูกต้อง
ข้อมลูที่ใช้หรือนำเสนอต้องมีความถูกต้อง มีความน่าเชื่อถือ และต้องรับผิดชอบต่อความผิดพลาดของข้อมูล
ความเป็นส่วนตัว
ต้องเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลนั้นเกี่ยวกับใคร หรือ องค์กรใด สามารถเปิดเผยต่อผู้อื่นได้หรือไม่

พ.ร.บ.

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ก็คือพระราชบัญญัติที่ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
6. นำข้อมูลที่ผิดพ.ร.บ.เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ (มาตรา 14)
5. จำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อนำไปใช้กระทำความผิด (มาตรา 13)
4. เข้าถึงระบบ หรือข้อมูลทางด้านความมั่นคงโดยมิชอบ (มาตรา 12)
3. ส่งข้อมูลหรืออีเมลก่อกวนผู้อื่น หรือส่งอีเมลสแปม (มาตรา 11)
2. แก้ไข ดัดแปลง หรือทำให้ข้อมูลผู้อื่นเสียหาย (มาตรา 9-10)
1. เข้าถึงระบบ หรือข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ชอบ (มาตรา 5-8)

ผลกระทบการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เหมาะสม

ด้านการงานและธุรกิจ
อาจถูกให้ออกจากงานเพราะบริษัทเกิดความเข้าใจผิดในการรับข้อมูล
ด้านกฎหมาย

ได้รับโทษ เนื่องจากข้อมูลเหล่านั้น อาจจะผิดระเบียบ กฎเกณฑ์ หรือ กฎหมาย ทำให้เสียเวลา และ เสีย ค่าใช้จ่ายจากการดำเนิดคดีตามกฎหมาย

ด้านสังคม

ได้รับผลกระทบด้านการชีวิตประจำวัน ครอบครัวเดือดร้อน ถูกประณามจากสังคม

ถูกสังคมลงโทษ ได้รับการประณาม หรือ เกลียดชังจากสังคม

ด้านจิตใจ
ผู้ถูกเผยแพร่

เสียใจ ทำให้เกิดความรู้สึกอับอาย ไม่ปลอดภัย กลัว รู้สึกไม่มั่นคง มีบาดแผล ทางจิตใจ ได้รับความเกลียดชัง สูญเสียการยอมรับจากผู้อื่น

ผู้เผยแพร่

รู้สึกผิดกับการกระทำของตนเอง หรือ รู้สึกเสียใจ เมื่อผู้อื่นมีพฤติกรรมเลียนแบบการกระทำที่ไม่เหมาะสมของตนเอง โดยไม่ได้ไตร่ตรองให้ถี่ถ้วน

แนวทางปฏิบัติเมื่อพบเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม

แจ้งเจ้าหน้าที่รัฐหรือตำรวจหากผู้ดูแลระบบไม่จัดการปัญหาที่เกิดขึ้น ให้ประสานงานกับหน่วยงานรัฐที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง
แจ้งผู้เกี่ยวข้องที่ดูแลเว้บไวต์นั้น กรณ๊ที่ใช้งานข้อมลูจากผู้บริหารระบบรายใหญ่ ซึ่งเว็บไซต์เหล่านี้เปิดโอกาสให้ผู้ใช้สามารถรายงานปัญหาเกี่ยวกับเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมได้
แจ้งครูหรือผู้ปกครอง หากนักเรียนประสบปัญหาที่ไม่สามารถจัดการหรือแก้ไขได้เอง ให้แจ้งครูหรือผู้ปกครอง เพื่อดำเนินการแก้ไขหรือติดต่อประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาซ้ำเดิมไม่สิ้นสุด
ไม่ส่งต่อ ไม่แชร์ ไม่เผยแพร่ เพราะนอกจากจะทำให้ผู้อื่นเดือดร้อนกับ ข้อมลูที่ไม่เป็นความจริง
ปฏิเสธการรับข้อมูล สามารถทำได้โดยไม่เปิดดู ไม่เก็บไว้ และไม่กดไลค์ เพราะการกระทำเหล่านั้นเป็นแนวทางที่ไม่ป้องกันไม่ให็ข้อมูลดังกล่าวเผยแพร่ไปสู่ผู้อื่น