作者:Bu-nga Maisert 5 年以前
231
更多类似内容
2. หักได้ตามจ่ายจริง เช่น วัด, สภากาชาดไทย
คำนวณจากเงินได้หลังหักค่าลดหย่อนก่อนบริจาค*10% = เพดาสูงสุดที่สามารถขอลดหย่อนได้
1. หักได้ 2 เท่าของที่จ่ายจริง เช่น สถานศึกษา, การกีฬา, โรงพยาบาลรัฐ
คำนวณจากเงินได้หลังหักค่าลดหย่อนก่อนบริจาค*10/110 = เพดาสูงสุดที่สามารถขอลดหย่อนได้
แหล่งเงินได้นอกประเทศไม่ต้องเสียภาษีให้ไทย แต่ต้องเสียภาษีก็ต่อเมื่อเป็นผู้ อยู่ในประเทศไทยครบ 180 วันในปีภาษีและได้นำเงินเข้ามาในปีภาษีนั้น
มีหน้าที่งาน, กิจการ, นายจ้าง, สินทรัพย์ อยู่ในประเทศไทย
(ม.40(8)) นอกเหนือจากที่ระบุไว้ใน (1)-(7)
(ม.40(7)) เงินได้จากการรับเหมาที่ผู้รับเหมาต้องลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระ
หักตามอัตราเหมาในอัตราร้อยละ 60
(ม.40(6)) เงินได้จากวิชาชีพอิสระ
แพทย์รักษาคนหักค่าใช้จ่ายได้ร้อยละ 60, วิชาชีพอื่นๆหักค่าใช้จ่ายได้ร้อยละ 30
(ม.40(5)) (ก)การให้เช่าสินทรัพย์, (ข)การผิดสัญญาเช่าซื้อสินทรัพย์, (ค)การผิดสัญญาซื้อขายเงินผ่อน
(ม.40(4)) (ก)ดอกเบี้ย, (ข)เงินปันผล เงินส่วนแบ่งของกำไร, (ค)เงินปันผลที่จ่ายแก่ผู้ถือหุ้น, (ง)เงินลดทุน, (จ)เงินเพิ่มทุน, (ฉ)ผลประโยชน์ที่ได้จากการโอนหุ้น
(ม.40(3)) ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิทธิ์ หรือสิทธิอย่างอื่น
เงินค่าลิขสิทธิ์ หักค่าใช้จ่ายเหมาได้ร้อยละ 50 ของเงินได้ แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 100,000 บาท
(ม.40(2)) เงินได้เนื่องจากหน้าที่ หรือตำแหน่งงาน
หักค่าใช้จ่ายเหมาได้ร้อยละ 50 ของเงินได้ แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 100,000 บาท ถ้าหากมีรายได้พึงประเมินทั้ง (1) และ (2) ให้นำเงินได้ทั้ง 2 รวมกันหักค่าใช้จ่ายเหมาได้ร้อยละ 50 ของเงินได้ แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 100,000 บาท
(ม.40(1)) เงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน
หักค่าใช้จ่ายเหมาได้ร้อยละ 50 ของเงินได้ แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 100,000 บาท
5. เครดิตภาษีตามที่กฎหมายกำหนด
4. เงินค่าภาษีอากรที่ผู้จ่ายเงินหรือผู้อื่นออกแทน
3. ประโยชน์ซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน
2. ทรัพย์สินซึ่งอาจคำนวณได้เป็นเงิน
1. เงิน
ผ่อนชำระได้เป็น ตั้งแต่ 3,000 บาทขขึ้นไป แบ่งผ่อนชำระได้ 3 งวด งวดละเท่าๆกัน
ธนาคารพาณิชย์ไทยและสาขาที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร หรือต่างจังหวัด
เว็บไซต์ของกรมสรรพากร ที่ www.rd.go.th
สำหรับท้องที่กรุงเทพมหานคร อาจยื่นแบบทางไปรษณีย์ลงทะเบียน
สำนักงานสรรพกรพื้นที่สาขา สำหรับยื่น ภ.ง.ด.90 และ ภ.ง.ด.91
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปี ยื่นภายใน มี.ค. ของปีถัดไป
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี (ม.40(5)ถึง(8)) ยื่นภายใน ก.ย. ของปีภาษีนั้น
ภ.ง.ด.94 ยื่นครึ่งปี (ม.40(5)ถึง(8)) ยื่น ก.ค.-ก.ย. ของปีภาษีนั้น
ภ.ง.ด.93 ขอชำระภาษีล่วงหน้า ยื่นก่อนเวลาชำระปกติ
ภ.ง.ด.91 (ม.40(1)) ยื่น ม.ค.-มี.ค. ของภาษีปีถัดไป
ภ.ง.ด.90 ทุกประเภท ยื่น ม.ค.-มี.ค. ของภาษีปีถัดไป
ในกรณีของสามีภรรยาต่างฝ่ายต่างมีเงินได้ จะรวมเอาเงินได้ของภรรยาเป็นของสามี หรือจะแยกจ่าย ก็ได้
ห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล ให้เป็นหน้าที่ของผู้จัดการห้างหุ้นส่วนหรือคณะบุคคลนั้น
กองมรดก ให้เป็นหน้าที่ของผู้จัดการมรดก หรือทายาท
ผู้ที่ถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี ให้เป็นหน้าที่ของผู้จัดการมรดก หรือทายาท
ผู้ที่อยู่ในต่างประเทศ ให้เป็นหน้าที่ของผู้จัดการ
คนเสมือนไร้ความสามารถ ให้เป็นหน้าที่ของผู้พิทักษ์
คนไร้ความสามารถ ให้เป็นหน้าที่ของผู้อนุบาล
ผู้มีเงินได้เป็นผู้เยาว์ ให้เป็นหน้าที่ของผู้แทนโดยชอบธรรม
ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคลเกิน 60,000 บาท
กองมรดกของผู้ตายที่ยังไม่ได้แบ่งเกิน 60,000 บาท
ผู้มีเงินได้จากการทำธุรกิจการค้าทั่วไปที่มิใช่เกิดจากการจ้างแรงงานที่ได้รับในปีภาษีนั้น
มีคู่สมรสเงินได้รวมเกิน 120,000 บาท
ไม่มีคู่สมรสเงินได้เกิน 60,000 บาท
ผู้มีรายได้จากการจ้างแรงงานประเภทเงินเดือน ค่าจ้าง (ม.40(1)) ที่ได้รับในปีภาษีนั้น
มีคู่สมรสเงินได้รวมกันเกิน 200,000 บาท
ไม่มีคู่สมรสเงินได้เกิน 100,000 บาท
เปรียบเทียบวิธีที่ 1 กับ 2 เลือกวิธีที่จำนวนสูงกว่า ชำระภาษีเพิ่มเติม(ขอคืนภาษี)
การคำนวณภาษีจามวิธีที่ 2 (ฐานเงินได้พึงประเมิน) นำเงินได้ (2)ถึง(8) รวมกันตั้งแต่ 60,000 บาทขึ้นไปคำนวณตามวิธีที่ 2 โดยคูณอัตรา 0.5% ถ้าคำนวณแล้วน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5,000 ไม่ต้องเสียภาษี
การคำนวณภาษีตามวิธีที่ 1 (ฐานเงินได้สุทธิ) นำเงินได้ (1)ถึง(8) หักค่าใช้จ่ายทั้งหมดแล้วค่อยมาลดหย่อน
เปรียบเทียบวิธีที่ 1 กับ 2 เลือกวิธีที่จำนวนสูงกว่า ชำระภาษีครึ่งปี
การคำนวณภาษีตามวิธีที่ 2 (ฐานเงินได้พึงประเมิน) นำเงินได้ (5)ถึง(8) * อัตรา 0.5%
การคำนวณภาษีตามวิธีที่ 1 (ฐานเงินได้สุทธิ) หักค่าใช้จ่ายทั้งหมดแล้วค่อยมาหักค่าลดหย่อน