类别 全部

作者:นายชยพัชร์ เสริมรัฐ 3 月以前

78

พระราชบัญญัติ กลุ่ม หมูเด้งมิ้บๆ

กฎหมายนี้มีการกำหนดบทลงโทษสำหรับการฝ่าฝืนมาตราต่าง ๆ โดยมีทั้งโทษจำคุกและปรับเงิน ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการกระทำผิด พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจในการตรวจสอบ ควบคุม และค้นสถานที่หรือยานพาหนะที่สงสัยว่าจะมีการกระทำผิด นอกจากนี้ยังสามารถยึดเอกสารหรือวัตถุที่อาจเป็นหลักฐานในการดำเนินคดีได้ ทั้งนี้เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและป้องกันการกระทำผิดที่อาจเกิดขึ้น โดยรายละเอียดของบทลงโทษและอำนาจหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ถูกระบุไว้อย่างชัดเจนในกฎหมายนี้

พระราชบัญญัติ 
กลุ่ม หมูเด้งมิ้บๆ

พระราชบัญญัติ กลุ่ม หมูเด้งมิ้บๆ

รายชื่อสมาชิก


นาย ภัทริศ โพธิ์ธำรงค์ชัย 64180105 เลขที่ 8

น.ส.กนิษฐา อุปถัมภ์ 65180011 เลขที่17

น.ส. นภสรณ์ พงศ์สิงห์แก้ว 65180018 เลขที่ 23

น.ส. ชุติมณฑน์ หัสดี 65180030 เลขที่ 33

น.ส.ณิชฐากร ชุมเทพ รหัสนิสิต 65180032 เลขที่ 35

นาย ชยพัชร์ เสริมรัฐ 65180047 เลขที่ 48

น.ส. ธัญญชนก ภูทวี 65180055 เลขที่ 55

น.ส.ปาลิดา กำเนิดเรือง 65180060 เลขที่ 60

หมวด ๕

Subtopic
มาตรา ๔๙

ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์ แผนไทยประยุกต์ ซึ่งถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตอาจขอรับใบอนุญาตอีกได้เมื่อพ้นสองปีนับแต่วันที่ถูก สั่งเพิกถอนใบอนุญาตแต่เมื่อคณะกรรมการได้พิจารณาคำขอรับใบอนุญาตและปฏิเสธการออกฤษฎีกา ใบอนุญาต ผู้นั้นจะยื่นคำขอรับใบอนุญาตในครั้งต่อ ๆ ไปได้อีกต่อเมื่อสิ้นระยะเวลาหนึ่งปีนับแต่วันที่ คณะกรรมการปฏิเสธการออกใบอนุญาต

มาตรา ๔๘

ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์ แผนไทยประยุกต์ ซึ่งอยู่ในระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาต ผู้ใดกระทำการฝ่าฝืนตามมาตรา ๔๗ และ ถูกลงโทษจำคุกตามมาตรา ๕๓ โดยคำพิพากษาถึงที่สุด ให้คณะกรรมการสั่งเพิกถอนใบอนุญาตของผู้ นั้นนับแต่วันที่ศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุด

มาตรา ๔๗

ภายใต้บังคับมาตรา ๓๑ ห้ามมิให้ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย หรือผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ซึ่งอยู่ในระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือซึ่งถูกสั่ง เพิกถอนใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือแสดงด้วยวิธีใด ๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนเป็น ผู้มีสิทธิประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยนับแต่วันที่ทราบคำสั่งสภาการแพทย์แผนไทยที่สั่งพักใช้ ใบอนุญาตหรือสั่งเพิกถอนใบอนุญาตนั้น

มาตรา ๔๖

ให้เลขาธิการแจ้งคำสั่งสภาการแพทย์แผนไทยตามมาตรา ๔๕ ไปยังผู้ถูกกล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าวโทษเพื่อทราบภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่มีคำสั่งดังกล่าว และให้บันทึก ข้อความตามคำสั่งนั้นไว้ในทะเบียนผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทย์แผนไทยประยุกต์ พร้อมทั้งแจ้งผลการวินิจฉัยชี้ขาดให้ผู้กล่าวหาหรือผู้กล่าวโทษทราบด้วย

มาตรา ๔๕

เมื่อคณะกรรมการได้รับสำนวนการสอบสวนและความเห็นของ คณะอนุกรรมการสอบสวนแล้ว ให้คณะกรรมการพิจารณาสำนวนการสอบสวนและความเห็นดังกล่าว ให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับสำนวนการสอบสวนและความเห็นของคณะอนุกรรมการสอบสวน คณะกรรมการอาจให้คณะอนุกรรมการสอบสวนทำการสอบสวนเพิ่มเติมก่อน วินิจฉัยชี้ขาดก็ได้และให้นำความในมาตรา ๔๑ วรรคสาม มาใช้บังคับโดยอนุโลม คณะกรรมการมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ (๑) ยกข้อกล่าวหาหรือข้อกล่าวโทษ (๒) ว่ากล่าวตักเตือน (๓) ภาคทัณฑ์ ๔) พักใช้ใบอนุญาตมีกำหนดเวลาตามที่เห็นสมควรแต่ไม่เกินสองปี ๕) เพิกถอนใบอนุญาภายใต้บังคับมาตรา ๓๐ คำวินิจฉัยชี้ขาดของคณะกรรมการตามมาตรานี้ ให้ทำเป็น คำสั่งสภาการแพทย์แผนไทยพร้อมด้วยเหตุผลของการวินิจฉัยชี้ขาด และให้ถือเป็นที่สุด

มาตรา ๔๔

เมื่อคณะอนุกรรมการสอบสวนทำการสอบสวนเสร็จสิ้นแล้วให้เสนอ สำนวนการสอบสวน พร้อมทั้งความเห็นต่อคณะกรรมการภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ทำการสอบสวน เสร็จสิ้นและต้องไม่เกินกำหนดเวลาตามมาตรา ๔๑ วรรคสาม เพื่อให้คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาด

มาตรา ๔๓

ให้ประธานอนุกรรมการสอบสวนมีหนังสือแจ้งข้อกล่าวหาหรือข้อ กล่าวโทษ พร้อมทั้งส่งสำเนาเรื่องที่กล่าวหาหรือกล่าวโทษให้ผู้ถูกกล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าวโทษไม่น้อย กว่าสิบห้าวันก่อนวันเริ่มทำการสอบสวน ผู้ถูกกล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าวโทษมีสิทธิทำคำชี้แจงหรือนำพยานหลักฐานใด ๆ มาให้ คณะอนุกรรมการสอบสวน คำชี้แจงหรือพยานหลักฐานให้ยื่นต่อประธานอนุกรรมการสอบสวนภายในสิบห้าวัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากประธานอนุกรรมการสอบสวน หรือภายในกำหนดเวลาที่คณะอนุกรรมการ สอบสวนจะขยายให้

มาตรา ๔๒

ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะอนุกรรมการจรรยาบรรณและของ คณะอนุกรรมการสอบสวนตามพระราชบัญญัตินี้ ให้อนุกรรมการจรรยาบรรณและอนุกรรมการ สอบสวนเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มีอำนาจเรียกบุคคลใด ๆ มาให้ถ้อยคำและมี หนังสือแจ้งให้บุคคลใด ๆ ส่งเอกสารหรือวัตถุเพื่อประโยชน์แก่การดำเนินงานของคณะอนุกรรมการ ดังกล่าว

มาตรา ๔๐
เมื่อคณะกรรมการได้รับรายงานและความเห็นของคณะอนุกรรมการ จรรยาบรรณแล้วให้คณะกรรมการพิจารณารายงานและความเห็นดังกล่าวแล้วมีมติอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (๑) ให้คณะอนุกรรมการจรรยาบรรณสืบสวนหาข้อเท็จจริงเพิ่มเติมเพื่อเสนอให้ คณะกรรมการพิจารณา (๒) ให้คณะอนุกรรมการสอบสวนทำการสอบสวนในกรณีที่เห็นว่าข้อกล่าวหาหรือ ข้อกล่าวโทษนั้นมีมูล (๓) ให้ยกข้อกล่าวหาหรือข้อกล่าวโทษในกรณีที่เห็นว่าข้อกล่าวหาหรือข้อกล่าวโทษนั้นไม่มีมูล มาตรา ๔๑ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสอบสวนจากสมาชิก ประกอบด้วยประธานคนหนึ่ง และอนุกรรมการมีจำนวนรวมกันไม่น้อยกว่าสามคน มีอำนาจหน้าที่สอบสวน สรุปผลการสอบสวนและเสนอสำนวนการสอบสวนพร้อมทั้งความเห็นต่อคณะกรรมการเพื่อสานวินิจฉัยชี้ขาด คณะกรรมการอาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสอบสวนเกินกว่าหนึ่งคณะก็ได้ ให้คณะอนุกรรมการสอบสวนดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ที่กำหนดในวรรคหนึ่งให้ แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการกำหนด ถ้ามีเหตุจำเป็นไม่อาจดำเนินการให้แล้วเสร็จ ภายในระยะเวลาที่กำหนด ให้ประธานอนุกรรมการสอบสวนแจ้งให้คณะกรรมการทราบก่อนครบ กำหนดเวลาดังกล่าว ในการนี้ ให้คณะกรรมการพิจารณาขยายระยะเวลาดำเนินการออกไปได้ไม่เกิน สามสิบวันนับแต่วันที่ครบกำหนดเวลา
มาตรา ๓๙
ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการจรรยาบรรณจากสมาชิก ประกอบด้วยประธานคนหนึ่ง และอนุกรรมการมีจำนวนรวมกันไม่น้อยกว่าสามคน มีอำนาจหน้าที่ สืบสวนหาข้อเท็จจริงในเรื่องที่ได้รับตามมาตรา ๓๘ แล้วทำรายงานพร้อมทั้งความเห็นเสนอ คณะกรรมการเพื่อพิจารณา คณะกรรมการอาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการจรรยาบรรณเกินกว่าหนึ่งคณะก็ได้ ให้คณะอนุกรรมการจรรยาบรรณดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ที่กำหนดในวรรคหนึ่ง ให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการกำหนด ถ้ามีเหตุจำเป็นไม่อาจดำเนินการให้แล้วเสร็จ ภายในระยะเวลาที่กำหนดให้ประธานอนุกรรมการจรรยาบรรณแจ้งให้คณะกรรมการทราบก่อนครบ กำหนดเวลาดังกล่าว ในการนี้ให้คณะกรรมการพิจารณาขยายระยะเวลาดำเนินการออกไปได้ไม่เกิน สามสิบวันนับแต่วันที่ครบกำหนดเวลา
มาตรา ๓๘
ื่อสภาการแพทย์แผนไทยได้รับเรื่องการกล่าวหาหรือการกล่าวโทษ ตามมาตรา ๓๗ หรือในกรณีที่คณะกรรมการมีมติว่ามีพฤติการณ์อันสมควรให้มีการพิจารณาเกี่ยวกับ การประพฤติผิดตามมาตรา ๓๖ ของผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทย์แผนไทยประยุกต์ให้เลขาธิการเสนอเรื่องดังกล่าวต่อประธานอนุกรรมการจรรยาบรรณโดย ไม่ชักช้า
มาตรา ๓๗
บุคคลอื่นมีสิทธิกล่าวโทษผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบ วิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ว่าประพฤติผิดตามมาตรา ๓๖ โดยทำคำกล่าวโทษเป็นหนังสือยื่น ต่อสภาการแพทย์แผนไทย กรรมการมีสิทธิกล่าวโทษผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบ วิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ว่าประพฤติผิดตามมาตรา ๓๖ โดยแจ้งเรื่องต่อสภาการแพทย์ ไทย สิทธิการกล่าวหาตามวรรคหนึ่งหรือสิทธิการกล่าวโทษตามวรรคสองหรือวรรคสาม สิ้นสุดลงเมื่อพ้นหนึ่งปีนับแต่วันที่ผู้ได้รับความเสียหายหรือผู้กล่าวโทษรู้เรื่องการประพฤติผิดตาม มาตรา ๓๖ และรู้ตัวผู้ประพฤติผิด ทั้งนี้ ไม่เกินสามปีนับแต่วันที่มีการประพฤติผิดตาม
มาตรา ๓๖
ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์ แผนไทยประยุกต์ต้องประกอบวิชาชีพภายใต้บังคับแห่งข้อจำกัดและเงื่อนไขและต้องรักษา จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทยตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย บุคคลอื่นมีสิทธิกล่าวโทษผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบ วิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ว่าประพฤติผิดตามมาตรา ๓๖ โดยทำคำกล่าวโทษเป็นหนังสือยื่น ต่อสภาการแพทย์แผนไทย กรรมการมีสิทธิกล่าวโทษผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบ วิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ว่าประพฤติผิดตามมาตรา ๓๖ โดยแจ้งเรื่องต่อสภาการแพทย์ ไทย สิทธิการกล่าวหาตามวรรคหนึ่งหรือสิทธิการกล่าวโทษตามวรรคสองหรือวรรคสาม สิ้นสุดลงเมื่อพ้นหนึ่งปีนับแต่วันที่ผู้ได้รับความเสียหายหรือผู้กล่าวโทษรู้เรื่องการประพฤติผิดตาม มาตรา ๓๖ และรู้ตัวผู้ประพฤติผิด ทั้งนี้ ไม่เกินสามปีนับแต่วันที่มีการประพฤติผิดตาม
มาตรา ๓๕
ผู้ขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตต้องสมัครเป็นสมาชิกแห่งสภา การแพทย์แผนไทยและมีคุณสมบัติตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยเมื่อสมาชิกภาพของผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทย์แผนไทยประยุกต์ผู้ใดสิ้นสุดลงตามมาตรา ๑๔ ให้ใบอนุญาตของผู้นั้นสิ้นสุดลงให้ผู้ซึ่งสมาชิกภาพสิ้นสุดลงตามมาตรา ๑๔ (๓) และ (๔) ส่งคืนใบอนุญาตต่อ เลขาธิการภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ทราบการสิ้นสุดสมาชิกภาพ
มาตรา ๓๓
ห้ามมิให้ผู้ใดใช้คำหรือข้อความที่แสดงให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนเป็นผู้มี ความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือการประกอบวิชาชีพการแพทย์ แผนไทยประยุกต์ หรือแสดงด้วยวิธีใด ๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนมีสิทธิเป็นผู้ประกอบวิชาชีพดังกล่าว ทั้งนี้ รวมถึงการใช้ จ้าง วาน หรือยินยอมให้ผู้อื่นกระทำดังกล่าวให้แก่ตน เว้นแต่ผู้นั้นเป็นผู้ได้รับ หนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรว่าเป็นผู้มีความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย หรือการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์จากสภาการแพทย์แผนไทย หรือที่สภาการแพทย์แผนไทยรับรอง หรือเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทย์แผนไทยประยุกต์ ซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กำหนดในข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย มาตรา ๓๔ การขึ้นทะเบียน การออกใบอนุญาต อายุใบอนุญาต การต่ออายุ ใบอนุญาตการออกหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในวิชาชีพการแพทย์แผนไทย และหนังสือแสดงวุฒิอื่น รวมทั้งการออกใบแทนในการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและการ ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ให้เป็นไปตามข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย
มาตรา ๓๒
ห้ามมิให้ผู้ใดซึ่งมิได้รับปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตรในวิชาชีพ การแพทย์แผนไทย ใช้คำหรือข้อความด้วยอักษรไทยหรืออักษรต่างประเทศว่าแพทย์แผนไทย หรือใช้ อักษรย่อของคำดังกล่าว หรือใช้คำแสดงวุฒิการศึกษาทางแพทย์แผนไทย หรือใช้อักษรย่อของวุฒิ งกล่าวประกอบกับชื่อหรือชื่อสกุลของตน หรือใช้คำหรือข้อความอื่นใดที่มีความหมายเช่นเดียวกัน ซึ่งทำให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทย์แผนไทยประยุกต์ ทั้งนี้ รวมถึงการใช้ จ้าง วาน หรือยินยอมให้ผู้อื่นกระทำดังกล่าวให้แก่ ตน
มาตรา ๓๑
ห้ามมิให้ผู้ใดซึ่งมิได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ กระทำการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือการ ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ เว้นแต่ในกรณีอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ (๑) การกระทำต่อตนเอง (๒) การช่วยเหลือแก่ผู้ป่วยตามหน้าที่ ตามกฎหมาย ตามหลักมนุษยธรรมหรือตาม ธรรมจรรยาโดยมิได้รับประโยชน์ตอบแทน (๓) นักเรียน นักศึกษา หรือผู้รับการฝึกอบรม ซึ่งทำการฝึกหัดหรือฝึกอบรมใน ควบคุมของสถาบันการศึกษาวิชาชีพการแพทย์แผนไทยของรัฐหรือที่ได้รับอนุญาตจากทางราชการให้ จัดตั้งสถาบันทางการแพทย์ของรัฐ หรือสถาบันการศึกษา หรือสถาบันทางการแพทย์อื่นที่สภา การแพทย์แผนไทยรับรอง ทั้งนี้ ภายใต้ความควบคุมของเจ้าหน้าที่ผู้ฝึกหัดหรือผู้ให้การฝึกอบรมซึ่ง เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ (๔) บุคคลซึ่งกระทรวง ทบวง กรม เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การ บริหารส่วนตำบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษอื่นตามที่มี กฎหมายกำหนดหรือสภากาชาดไทย มอบหมายให้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยในความ ควบคุมของเจ้าหน้าที่ ซึ่งเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ทั้งนี้ ตามระเบียบที่รัฐมนตรีกำหนดโดยประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา (๕) บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาล ตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลกระทำ การประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ในความ ควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ทั้งนี้ ตามระเบียบที่รัฐมนตรีกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา (๖) การประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ของที่ปรึกษาหรือผู้เชี่ยวชาญของทางราชการ ทั้งนี้ โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ที่คณะกรรมการกำหนด (๗) หมอพื้นบ้าน ซึ่งมีความรู้ความสามารถในการส่งเสริมและดูแลสุขภาพของ ประชาชนในท้องถิ่นด้วยภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ตามวัฒนธรรมของชุมชนที่สืบทอดกันมานาน ไม่น้อยกว่าสิบปีเป็นที่นิยมยกย่องจากชุมชน โดยมีคณะกรรมการหมู่บ้านหรือองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นเสนอให้หน่วยงานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดเป็นผู้รับรอง ทั้งนี้ ตามระเบียบที่รัฐมนตรี กำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
การควบคุมการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย และการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์

หมวด ๔ การดำเนินการของคณะกรรมการ

มาตรา ๓๐
มติของที่ประชุมเรื่องต่อไปนี้ต้องเห็นชอบจากสภานายกพิเศษก่อนดำเนินการ (๑) การออกข้อบังคับ (๒) การกำหนดแผนการดำเนินงานและงบประมาณของสภาการแพทย์แผนไทย (๓) การให้พ้นจากสมาชิกสภาพตามมาตรา ๑๔ (๔) (๔) การวินิจฉัยชี้ขาดพักใช้/เพิกถอนใบอนุญาตตามมาตรา ๔๕ วรรคสาม (๔) หรือ (๕) ให้นายกสภาการแพทย์แผนไทยเสนอมติตามวรรคหนึ่งต่อสภานายกพิเศษ โดยสภาพิเศษมีคำสั่งยับยั้งมติได้ ในกรณีที่ไม่ได้ยับยั้งมติวรรคหนึ่งภายใน ๑๕ - ๓๐ วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับมติที่นายกสภาการแพทย์แผนไทยเสนอ จะถือว่าสภานายกพิเศษเห็นชอบมตินั้น ถ้าสภานายกพิเศษยับยั้งมติไหนให้จัดการประชุมอีกครั้งภายใน ๓๐ วัน นับตั้งแต่ได้รับการยับยั้ง โดยต้องมีเสียงยืนยันมติไม่น้อยกว่า ๒ ใน ๓ ของจำนวนสมาชิกทั้งหมด
มาตรา ๒๙
สภานายกพิเศษจะเข้าฟังและชี้แจงแสดงความเห็นในที่ประชุม หรือส่งความเห็นเป็นหนังสือไปยังสภาการแพทย์แผนไทยเรื่องใดก็ได้
มาตรา ๒๘
การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่า ๕๐% ของจำนวนสมาชิกทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม ให้ถือเสียงข้างมาเป็นมติ โดย ๑ คน/คะแนนเสียง ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานออกเสียงเพิ่มอีกหนึ่งเพื่อชี้ขาด มติในกรณีที่ให้สมาชิกพ้นสภาพตามมาตรา ๑๔ (๔) ให้ถือคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า ๒ ใน ๓ ของจำนวนสมาชิกทั้งหมด การประชุมคณะอนุกรรมการ ให้นำความวรรคหนึ่งและสองมาใช้บังคับโดยอนุโลม การประชุมคณะที่ปรึกษา ให้เป็นไปตามข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย

หมวด ๑ สภาการแพทย์แผนไทย

มาตรา ๑๑
ให้รัฐมนตรีดํารงตําแหน่งสภานายกพิเศษแห่งสภาการแพทย์แผนไทยและมีอํานาจหน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๑๐
สภาการแพทย์แผนไทยอาจมีรายได้ดังต่อไปนี้ (๑) เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน (๒) ค่าจดทะเบียนสมาชิก ค่าบํารุง และค่าธรรมเนียมต่าง ๆ (๓) ผลประโยชน์ที่ได้จากการจัดการทรัพย์สินและกิจกรรมตามวัติถุประสงค์ที่ กําหนดในมาตรา ๘ (๔) เงินและทรัพย์สินซึ่งมีผู้ให้แก่สภาการแพทย์แผนไทย (๕) ดอกผลของเงินและทรัพย์สินตาม (๑) (๒) (๓) และ (๔)
มาตรา ๙
สภาการแพทย์แผนไทย มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (๑) รับขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ขอเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย และผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ (๒) ออกคําสั่งตามมาตรา ๔๕ (๓) รับรองปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตรในวิชาชีพการแพทย์แผนไทยของสถาบันต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการสมัครเป็นสมาชิก (๔) รับรองหลักสูตรสำหรับการฝึกอบรมเป็นผู้ชํานาญการในด้านต่าง ๆ ของวิชาชีพการแพทย์แผนไทยของสถาบันที่ทําการฝึกอบรมดังกล่าว (๕) รับรองวิทยฐานะของสถาบันที่ฝึกอบรมใน (๔) (๖) ออกหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ และออกหนังสือแสดงวุฒิอื่นในวิชาชีพการแพทย์แผนไทย (๗) จัดทําแผนการดําเนินงานและรายงานผลการดําเนินงานเสนอต่อสภานายกพิเศษอย่างน้อยปีละครั้ง (๘) ดําเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของสภาการแพทย์แผนไทย (๙) บริหารกิจการใด ๆ ตามวัตถุประสงค์ และอํานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ตลอดจนกิจการใด ๆ ของสภาการแพทย์แผนไทย
มาตรา ๘
สภาการแพทย์แผนไทย มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ (๑) ส่งเสริมการศึกษา การพัฒนา การวิจัย การประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย และการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ (๒) ควบคุม กํากับ ดูแล และกําหนดมาตรฐานการให้บริการของผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ (๓) ควบคุมความประพฤติ จริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและผู้ ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ให้เป็นไปตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทย (๔) ช่วยเหลือ แนะนํา เผยแพร่ และให้การศึกษาแก่ประชาชนและองค์กรอื่นในเรื่องที่เกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย (๕) ให้คำปรึกษาหรือข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลเกี่ยวกับวิชาชีพการแพทย์แผนไทย (๖) ส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติของสมาชิก (๗) ผดุงไว้ซึ่งสิทธิความเป็นธรรม และส่งเสริมสวัสดิการให้แก่สมาชิก (๘) เป็นตัวแทนผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ของประเทศไทย
มาตรา ๗
ให้มีสภาการแพทย์แผนไทยเป็นนิติบุคคล ซึ่งมีวัตถุประสงค์และอํานาจ หน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้

หมวด ๗

มาตรา๕๗
พนักงานเจ้าหน้าที่ฝ่าฝืนมาตรา๕๑วรรค๑ โดยไม่มีเหตุอันควร ระวางโทษประบไม่เกิน2,000บาท
มาตรา๕๖
ไม่มาให้ถ้อยคำหรือไม่ส่งเอกสารหรือวัตถุใดๆตามที่เรียกหรือแจ้ง ส่งตามมาตรา๔๒ ระวางโทษจำคุกไม่เกิน1เดือน หรือปรับไม่เกิน1,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๕๕
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา๓๕วรรคสาม หรือไม่อำนวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา๕๐วรรค๒ ระวางโทษปรับไม่เกิน2,000บาท
มาตรา๕๔
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา๓๒หรือมาตรา๓๓ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน๑ปี หรือปรับไม่เกิน20,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๕๓
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา๓๑ หรือ ๔๗ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน๓ปี หรือปรับไม่เกิน60,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

หมวด ๖ พนักงานเจ้าหน้าที่

มาตรา ๕๒
ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวล กฎหมายอาญา
มาตรา ๕๑
ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัว บัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตามแบบที่รัฐมนตรีกำหนดโดยประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๕๐
ในการปฏิบัติหน้าที่ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจดังต่อไปนี้

๑) เข้าไปในสถานที่ทำการของผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบ วิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ในเวลาทำการของสถานที่นั้น เพื่อตรวจสอบหรือควบคุมให้เป็นไป ตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) เข้าไปในสถานที่หรือยานพาหนะใด ๆ ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่า จะมีการกระทำ ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตกหรือในเวลาทำการ ของสถานที่นั้นเพื่อตรวจค้นเอกสารหรือวัตถุใด ๆ ที่อาจใช้เป็นหลักฐานในการดำเนินการกระทำผิดตามพระราชบัญญัตินี้ประกอบกับกรณีมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าหากเนิ่นช้ากว่าจะเอาหมายค้นมาได้ เอกสารหรือวัตถุดังกล่าวจะถูกยักย้าย ซุกซ่อน ทำลายหรือทำให้เปลี่ยนสภาพไปจากเดิม (๓) ยึดเอกสาร หรือวัตถุใด ๆ ที่อาจใช้เป็นหลักฐานในการดำเนินคดีการกระทำ ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ในการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง ให้บุคคลที่เกี่ยวข้อง อำนวยความสะดวกตามสมควร

หมวด3 เกี่ยวกับคณะกรรมการ

มาตราที่ 27
ให้คณะอนุกรรมการประกอบวิชาชีพ แพทย์แผนไทยประยุกต์มีอำนาจหน้าที่องค์ประกอบคุณสมบัติและวิธีการที่ได้มาซึ่งอนุกรรมการตามข้อบังคับของสภา
มาตรา 26
คณะอนุกรรมการการประกอบวิชาชีพแพทย์แผนไทยคณะหนึ่งมีอำนาจหน้าที่องค์ประกอบคุณสมบัติและวิธีได้มาซึ่งอนุกรรมการตามข้อบังคับของสภา
มาตรา 25
ให้แต่ละตำแหน่งมีหน้าที่ดังนี้ (1) นายกสภาการแพทย์แผนไทย ก) บริหารดำเนินกิจการของสภาการแพทย์แผนไทยเป็นไปตามพระราชบัญญัติหรือตามมติของคณะกรรมการ ข) เป็นผู้แทนสภาการแพทย์ไทยในกิจการต่างๆ ค) เป็นประธานในที่ประชุมคณะกรรมการ 2) อุปนายกสภาการแพทย์แผนไทยคนที่1เป็นผู้ช่วยนายกสภาการแพทย์แผนไทยเมื่อนายกไม่อยู่หรือปฏิบัติหน้าที่ไม่ได้ 3) อุปะนายกสภาการแพทย์แผนไทยคนที่2 เป็นผู้ช่วยนายกสภาการแพทย์แผนไทยและกิจการอันอยู่ในอำนาจหน้าที่เมื่อนายกและนายกไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ 4) เลขาธิการ ก) ควบคุมบังคับบัญชาเจ้าหน้าที่สภาการและแผนไทยทุกระดับ ข) ควบคุมรับผิดชอบในงานธุรการทั่วไปของสภาการแพทย์แผนไทย ค) รับผิดชอบในการดูแลรักษาทะเบียนสมาชิก ทะเบียนผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย / ประยุกต์ของสภาการแพทย์แผนไทย ง) ควบคุมดูแลทรัพย์สินของการแพทย์แผนไทย จ) เป็นเลขานุการคณะกรรมการ 5) ลองเลขาธิการ เป็นผู้ช่วยเลขาทำการแทนเลขาเมื่อเลขาไม่อยู่หรือปฏิบัติหน้าที่ไม่ได้ 6) ประชาสัมพันธ์มีหน้าที่ประชาสัมพันธ์และนำเผยแพร่กิจการของสภาการแพทย์แผนไทยแก่ประชาชนและองค์กรอื่น 7) เหรัญญิก มีหน้าที่ควบคุมดูแลรับผิดชอบการบัญชีการเงินและงบประมาณของสภา 8) ผู้ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาตามมาตรา 16 มีหน้าที่ตามที่กำหนด 9) ดำรงตำแหน่งอื่นตามมาตรา 17 วรรคสองมีหน้าที่ตามกำหนด
มาตรา24
ให้คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ดังนี้ 1. บริหารและดำเนินการสภาการแพทย์แผนไทยตามมาตรา(8)(9)(10) 2. แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการประกอบวิชาชีพแพทย์แผนไทย / ประยุกต์ 3. กำหนดแผนการดำเนินงานและงบประมาณสภาการแพทย์แผนไทย 4. ออกข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย ก) การเป็นสมาชิก ข) กำหนดมาตรา 12(5) ค) กำหนดค่าจดทะเบียนสมาชิกค่าบำรุงและค่าธรรมเนียมนอกเหนือจากพระราชบัญญัติ ง) เลือกเลือกตั้งกรรมการเลื่อนผู้มีคุณสมบัติขึ้นเป็นกรรมการแทนการแต่งตั้งที่ปรึกษาและเลือกกรรมการเพื่อดำรงตำแหน่งตามมาตรา18 จ) การประชุมคณะกรรมการคณะอนุกรรมการและคณะที่ปรึกษา ฉ) กำหนดหน้าที่ผู้ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาตามมาตรา16 ช) กำหนดอำนาจหน้าที่ ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นตามมาตรา17วรรค2 ซ) คุณสมบัติผู้กำกับวิชาชีพแพทย์แผนไทย / ประยุกต์ตามมาตรา35 ฌ) แบบและประเภทใบอนุญาตหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขทะเบียนการออก อายุการต่ออายุใบอนุญาต และการออกใบแทนใบอนุญาต ญ) หลักเกณฑ์และออกหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ ฎ) หลักเกณฑ์และพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอน ฏ) จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ฐ) การจัดตั้งการดำเนินการและการรักษาที่ฝึกอบรมผู้ชำนาญการของวิชาชีพแพทย์แผนไทย รวมถึงการกำหนดหลักเกณฑ์วิธีการตลอดจนการศึกษาต่อเนื่องเพื่อเสริมทักษะการประกอบวิชาชีพ ฑ) หลักเกณฑ์ที่การละเงื่อนไขในการสอบความรู้หรือประเมินตาม12 ฒ) หลักเกณฑ์และการสืบสวนหรือสอบสวนในตอนนี้มีการกล่าวหาหรือกล่าวโทษผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์แผนไทย / ประยุกต์ ณ) ข้อจำกัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพแพทย์แผนไทย /ประยุกต์ ด) เรื่องอื่นๆที่อยู่ในขอบเขตอำนาจหน้าที่ของสภาไทยตามพระราชบัญญัติภายใต้บังคับมาตรา 30
กำหนด
มาตรา23
ถ้าตำแหน่งมาตรา15(5)ว่างไม่เกิน1ใน3ของจำนวนดังกล่าวทั้งหมดใหเลื่อนสมาชิกที่คุณสมบัติมาตรา19ได้รับเลือกให้เป็นคณะกรรมการมาตรา15(5)เป็นแทนภายใน30วันที่ตำแหน่งว่าง
มาตรา21
ให้พ้นจากตำแหน่งเมื่อคณะกรรมการมาตรา15(3)(4)(5) 1.สมาชิกภาพสิ้นสุดตามมาตรา14 2.ขาดคุณสมบัติ/มีข้อห้ามในมาตรา19 3.ลาออก

คณะกรรมการมาตรา15(2)พ้นตำแหน่งเมื่อ 1.พ้นจากตำแหน่งคณบดี 2.ลาออก มาตรา22คณะกรรมมาตรา15(2)(3)(4)ให้หาคนภายใน30วันไม่งั้นตำแหน่งจะว่าง แต่ถ้าหาไม่ได้จริงๆให้คนที่ปฏิบัติหน้าที่ครบแต่หาคนมาแทนไม่ได้ให้ปฎิบัติหน้าที่ต่อไม่ถึง90วัน

มาตรา20
กรรมการมาตรา15(2)(3)(4)(5)ให้ดำรงตำแหน่ง3ปีต่อไม่ได้แต่ถ้าหาคนมาดำรงตำแหน่งไม่ได้ให้ปฏิบัติงานต่อ
มาตรา19
กรรมการมาตรา15 (3)(4)(5)ต้องมีคุณสมบัติ 1.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์แผนไทย/ประยุกต์ 2.ไม่ถูกพัก/เพิกถอนใบอนุญาต 3.ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
มาตรา18
เลือกคณะกรรมการในมาตรา 15 16 และ17 /เลื่อนการเลือกตั้งตามมาตรา23เป็นไปตามข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย
มาตรา17
ให้คณะกรรมการจากมาตรา15เลือกอุปนายกคนที่1คนที่2ภายใน30วัน
มาตรา16
คณะกรรมการสามารถแต่งตั้งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่ปรึกษาได้
มาตรา15
(1)กรรมการที่เป็นตำแหน่ง (2)กรรมการคณบดี/หัวหน้าภาควิชาที่ผลิตบัณฑิตแพทย์แผนไทย/ประยุกต์ (3)กรรมการมูลนิธิที่เกี่ยวกับแพทย์แผนไทย/ประยุกต์ (4)หัวหน้าสถาบัน/พยาบาลที่ได้รับการรับรองจากสภาแพทย์แผนไทยเลือกกันเองให้เหลือ3คน (5)กรรมการที่ (1)(2)(3)(4)เลือกกันโดยให้คิดเป็นสัดส่วนตามมาตรา4

หมวด ๒ สมาชิก

มาตรา ๑๔
(๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ขาดคุณสมบัติมาตรา ๑๒ (๒) (๔) คณะกรรมการมีมติให้พ้นจากสมาชิกภาพ เพราะเห็นว่าเป็นผู้นำมาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพตามมาตร ๑๒ (๓) หรือ (๔) (๕) มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๒ (๕) และผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมจำนวนไม่น้อยกว่าสามคน ซึ่งคณะกรรมการกำหนด ลงความเห็นว่าไม่สามารถบำบัดรักษาให้หายเป็นปกติได้ หรือต้องใช้ระยะเวลาในการบำบัดรักษาเกินกว่าสองปี ในกรณีที่สมาชิกผู้ใดมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๒ (๕) แต่ยังไม่ถึงขนาดที่สมาชิกภาพสิ้นสุดลงตามวรรคหนึ่ง (๕) คณะกรรมการอาจมีมติให้พักใช้ใบอนุญาตของสมาชิกผู้นั้นได้โดยมีกำหนดเวลาตามที่เห็นสมควรแต่ไม่เกินสองปี และให้นำความในมาตรา ๓๑ มาบังคับใช้โดยอนุโลม
สมาชิกภาพของสมาชิกสิ้นสุดลงเมื่อ
มาตรา ๑๓
(๔) ผดุงไว้ซึ่งเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพและปฏิบัติตนตามพระราชบัญญัตินี้
(๓) เลือก รับเลือก หรือรับเลือกตั้งเป็นกรรมการ เฉพาะสมาชิกที่มีใบอนุญาต
(๒) แสดงความเห็นเป็นหนังสือเกี่ยวกับกิจการของสภาการแพทย์แผนไทยส่งไปยังคณะกรรมการเพื่อพิจารณา และในกรณีที่สมาชิกร่วมกันตั้งแต่ห้าสิบคนขึ้นไปเสนอให้คณะกรรมการ พิจารณาเรื่องใดที่เกี่ยวกับกิจการของสภาการแพทย์แผนไทย คณะกรรมการต้องพิจารณาและแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้เสนอทราบภายในเก้าสิบวันนับแต่วันได้รับเรื่อง
(๑) ขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ขอหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย หรือการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์หรือขอหนังสือแสดงวุฒิอื่นในวิชาชีพการแพทย์แผนไทย โดยปฏิบัติตามข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย ว่าด้วยการนั้น
สิทธิและหน้าที่ของสมาชิกมีดังต่อไปนี้
มาตรา ๑๒
(๕) ไม่เป็นผู้วิกลจริต จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือไม่เป็นโรคที่กำหนดไว้ในข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย
(๔) ไม่เคยต้องโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดในคดีที่คณะกรรมการเห็นว่าจะนำมาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ
(๓) ไม่เป็นผู้ประพฤติเสียหายซึ่งคณะกรรมการเห็นว่าจะนำมาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ
(๒) มีความรู้ในวิชาชีพการแพทย์แผนไทยดังต่อไปนี้

(ก) ได้รับการฝึกอบรมจากสถาบันหรือสถานพยาบาลที่สภาการแพทย์แผนไทยรับรองโดยมีผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยซึ่งได้รับอนุญาตให้ถ่ายทอดความรู้เป็นผู้ให้การอบรมและต้องสอบผ่านความรู้ตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย หรือ

(ค) เป็นผู้ที่ส่วนราชการรับรองความรู้การแพทย์พื้นบ้านไทย โดยผ่านการประเมินหรือการสอบตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย

(ข) ได้รับปริญญาหรือประกาศนียบัตรเทียบเท่าปริญญาสาขาการแพทย์แผนไทยหรือสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์จากสถาบันการศึกษาที่สภาการแพทย์แผนไทยรับรองและ ต้องสอบผ่านความรู้ตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย หรือ

(๑) มีอายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบปีบริบูรณ์
สมาชิกสภาการแพทย์แผนไทย ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้