บทที่ 8
การแสวงหาสารสนเทศและความรู้
1. การศึกษาค้นคว้าและการทำรายงาน
5. รายงาย (Report)
5.3 ขั้นตอนการเขียนรายงาน
10.การเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Writing)
9.การเขียนรายการอ้างอิงและบรรณานุกรม
(Write the Referenceand Bibliography
8.การเรียบเรียงรายงาน (Writing and revising)
7.การจัดทำโครงเรื่องครั้งสุดท้าย (The final outline)
6.การใช้สารสนเทศจากแหล่งต่างๆ
(Using sources ofInformation)
5.การอ่านและจดบันทึก (Reading and Notes)
4.รวบรวมบรรณานุกรม (The working bibliography)
3.การจัดทำเค้าโครงรายงาน (the Preliminary Outline)
2.อ่านข้อมูลของเนื้อหาวิชาเพื่อเป็นพื้นความรู้ (Reading for
Background) และกหนดวัตถุประสงค์ของการทำรายงาน
(Report objectives)
1.เลือกและกำหนดหัวข้อการทำรายงาน (Choose the topics)
5.2. ส่วนประกอบของรายงาน
ส่วนอ้างอิง (Citation)
ส่วนเนื้อเรื่อง (Body of contents)
ส่วนนำ
5สารบัญ (Table of contents) คือ
ส่วนที่อยู่ต่อจากหน้าคำนำในหน้าสารบัญ
4. คำนำ (Preface) คือส่วนที่อยู่ถัดจากหน้าปกใน
3.กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement)
เป็นข้อความแสดงความขอบคุณผู้ช่วยเหลือ
2.หน้าปกใน (Title page) คือส่วนที่อยู่ต่อ
จากหน้าปกนอกนิยมเขียนเหมือนปกนอก
1 ปกนอก (Cover) คือ ส่วนที่เป็นปกหุ้ม
รายงานทั้งหมดมีทั้งปกหน้าและปกหลัง
5.1 ประโยชน์ของการทำรายงาน
5. เพิ่มพูนทักษะในการเขียนรายงานทางวิชาการซึ่งจะ
เป็นพื้นฐานในการสร้างสรรค์ผลงานวิชาการอื่นๆ ต่อไป
4. ทำให้เกิดการรู้จักใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล
และสร้างทักษะในการแก้ไขปัญหา
3. ช่วยให้ทราบข้อมูลที่แท้จริงรวมทั้งข้อบกพร่องเพื่อ
นำมาใช้แก้ปัญหาหรือนำมาใช้พัฒนาการปฏิบัติงาน
2. ทำให้มีพัฒนาการทางวิชาการในสาขาวิชาต่างๆ
1. ทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่และข้อเท็จจริงใหม่ๆ
ทั้งในด้านทฤษฎีและปฏิบัติ
เป็นผลที่ได้จากการศึกษา ค้นคว้า วิจัย มีการเรียบเรียงตาม
ระเบียบขั้นตอนทางวิชาการ ตามรูปแบบการเขียนรายงานซึ่ง
รายละเอียดต่างๆ ของรายงานและการเขียนรายงาน
4. วิทยานิพนธ์ ( Thesis/Dissertation)
เป็นรายงานผลของการค้นคว้าวิจัยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาในระดับปริญญามหาบัณฑิต หรือปริญญาดุษฎีบัณฑิต โดยที่ผู้เรียนจะต้องเลือกหัวข้อเรื่องที่ทำด้วยตนเอง และผู้เรียนจะต้องทำการค้นคว้าอย่างละเอียดลึกซึ้ง
3. ภาคนิพนธ์ (Term paper)
ผู้ทำภาคนิพนธ์มีรายละเอียดลึกซึ้งต้องใช้เวลาในการศึกษาค้นคว้า
เช่น ใช้เวลา 1 ภาคการศึกษา การทำภาคนิพนธ์โดยทั่วไปผู้เรียนมัก
ได้รับมอบหมายให้ทำเพียงเรื่องเดียวในแต่ละรายวิชา
2. การวิจัย (Research) หมายถึง
การสำรวจ ตรวจหา เพื่อหาคำตอบในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
อย่างมีระบบและแบบแผนตามขึ้นตอนและระเบียบวิธีวิจัย
1. การศึกษาค้นคว้า หมายถึง
การหาข้อมูลหรือการหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อหาคำตอบจากปัญหา
หนึ่งโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้รับความรู้ในเรื่องนั้นๆการศึกษาค้นคว้า
จึงเป็นการแสวงหาสารสนเทศและความร
5. การใช้เครื่องหมายวรรคตอนในรายการอ้างอิง
5.5 การใช้คำย่อในการเขียนรายการอ้างอิง
5.4 เครื่องหมายมหัพภาคคู่ ( : colon)
5.3 เครื่องหมายอัฒภาค ( ; semi-colon)
5.2 เครื่องหมายจุลภาค ( , comma)
5.1 เครื่องหมายมหัพภาค ( . period)
4. การเรียงลำดับรายการอ้างอิง
4.3 หลักการเรียงรายการตามลำดับอักษร
6) เอกสารผู้แต่งที่เป็นสถาบัน สมาคม หน่วยงาน ให้เรียงตามลำดับ
อักษรตัวแรกของชื่อสถาบันที่สะกดเต็ม โดยเรียงไปทีละลำดับตั้งแต่
หน่วยงานใหญ่ถึงหน่วยงานย่อย
5) ถ้าชื่อผู้แต่งเหมือนกัน ให้เรียงตามอักษรของชื่อต้นและชื่อกลาง
4) ถ้าเรียงงานหลายงานที่มีชื่อผู้แต่งคนแรกเหมือนกัน
3) ชื่อสกุลที่มี article หรือ preposition เช่น de, la, du, von
ให้เรียงตามกฎของภาษานั้น ถ้ารู้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของชื่อสกุลให้เรียง
ลำดับอักษรตามรูปที่ปรากฏ
2) คำนำหน้าชื่อ M’ Mc หรือ Mac ให้เรียงตามรูปที่ปรากฏ
โดยไม่สนใจเครื่องหมาย ‘
1) ให้เรียงทีละตัวอักษรของคำนั้น
4.2 ถ้าจำนวนรายการมีจำนวนมาก ควรเรียงรายการแยกตามประเภทของเอกสารทั้งนี้ใน แต่ละประเภทให้เรียงตามลำดับอักษรของผู้แต่งด้วยเช่นกัน
4.1 ถ้าจำนวนรายการไม่มาก ให้เรียงรวมทุกรายการไว้ด้วยกันโดยเรียงตามลำดับอักษรของผู้แต่ง
3. การอ้างอิงเอกสาร (Citations)
3.2 การอ้างอิงเอกสารส่วนท้ายของรายงาน
3) ส่วนที่เป็นการพิมพ์
2) ส่วนที่เป็นชื่อเรื่อง
1) ส่วนที่เป็นชื่อผู้แต่ง
3.1 การอ้างอิงเอกสารในส่วนเนื้อเรื่อง
หมายถึง การอ้างโดยการระบุชื่อผู้แต่งและปีพิมพ์ของเอกสารที่อ้าง
แทรกปนไปกับเนื้อหาของบทความ โดยใช้วิธีการอ้างอิงระบบชื่อ-ปี
(Name-year system) ซึ่งเป็นการอ้างโดยการระบุชื่อผู้แต่งและ
ปีพิมพ์ของเอกสารที่อ้าง
ความหมาย
การบอกแหล่งที่มาของข้อมูลที่ผู้เขียนนำมาใช้อ้างอิงในการเขียนผลงาน
เพื่อเป็นการแสดงหลักฐานที่จะทำให้งานเขียนนั้นมีความน่าเชื่อถือเป็นการให้เกียรติแก่ผู้เขียนเดิมและแสดงเจตนาของผู้เขียนว่าไม่ได้คัดลอกข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่มีการอ้างอิง
2. การคัดลอกความคิดของผู้อื่น
โดยไม่มีการอ้างอิง (Plagiarism)
การอ้างอิงเอกสาร เป็นจรรยาบรรณที่จำเป็นในวงวิชาการ เป็นการให้เกียรติกับเจ้าของผลงานเดิม ในการเรียบเรียงและนำเสนอสารสนเทศนั้น จะต้องนำเสนอให้ชัดเจนว่า ข้อความส่วนใดเป็นการอ้างอิงความคิดของผู้อื่นและส่วนใดเป็นความคิดของเราเอง การลอกเลียนความคิดของผู้อื่นโดยไม่มีการอ้างอิง ถือเป็นการกระทำผิดจรรยาบรรณร้ายแรงในวงวิชาการ