类别 全部 - สถิติ - ตัวแปร - ข้อมูล

作者:สุดารัตน์ วัฒนประเสริฐกุล 5 年以前

391

สถิติพื้นฐานของการวิจัย

การวิจัยนำเสนอข้อมูลในรูปแบบต่างๆ โดยประเภทของข้อมูลสามารถแบ่งได้หลายระดับ เช่น นามบัญญัติที่จัดข้อมูลเป็นกลุ่ม เรียงอันดับที่จัดข้อมูลตามลำดับ อัตราส่วนที่วัดได้ในระดับสูง และอันตรภาคที่บอกถึงความแตกต่างระหว่างค่า ข้อมูลเหล่านี้สามารถนำไปใช้คำนวณสถิติง่ายๆ เช่น ความถี่ สัดส่วน และร้อยละ นอกจากนี้ยังมีหลักการสำคัญในการใช้สถิติ เช่น หลีกเลี่ยงการนำเสนอซ้ำซาก และแปลผลค่าต่างๆ ได้ถูกต้อง ตัวแปรในงานวิจัยแบ่งเป็นตัวแปรอิสระที่เรากำหนดขึ้นเพื่อทดสอบสมมติฐาน และตัวแปรตามที่เปลี่ยนไปตามตัวแปรอิสระ ประเภทของสถิติมีทั้งสถิติเชิงพรรณนาที่เกี่ยวข้องกับการทำตารางและอธิบายข้อมูล เช่น ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน และสถิติเชิงอนุมานที่วิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อสรุปไปยังประชากร ความรู้ในการใช้สถิติเหล่านี้มีความสำคัญในการวิจัยเพื่อให้ได้ผลที่แม่นยำและน่าเชื่อถือ

สถิติพื้นฐานของการวิจัย

สถิติพื้นฐานของการวิจัย

ตัวแปร

ตัวแปรตาม (Dependent Variables)
คือ ตัวแปรที่เปลี่ยนไปตามตัวแปรต้น หรือ ผลของตัวแปรต้น
ตัวแปรอิสระ (Independent Variables)
คือตัวแปรที่กำหนดขึ้นเพื่อทดสอบสมมติฐาน เป็นตัวแปรที่เราเปลี่ยนไปเพื่อจะดูผลที่ ตามมา

คำจำกัดความ

คำว่าสถิติ (Statistics) มาจากภาษาเยอรมัน ว่า Statistics มีรากศัพท์มาจาก Stat หมายถึง ข้อมูลหรือสารสนเทศ สถิติ หมายถึง ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม เช่น จำนวนผู้ประสบอุบัติเหตุบนท้องถนน จำนวนผู้เสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก เป็นต้น

ประเภทของข้อมูล

อัตราส่วน (Ratio Scale)
เป็นข้อมูลที่ใช้วัดในระดับสูง สามารถบวก ลบ คูณ หารได้ และมีศูนย์แท้ซึ่งถ้ามีค่าเป็น 0 หมายถึง ไม่มี
อันตรภาค (Interval Scale)
เป็นข้อมูลที่บอกถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่ วัดได้แต่ละช่วง ที่มีความห่างเท่ากัน ทุกช่วง เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข สามารถ บวก ลบ กันได้ แต่ไม่มีศูนย์แท้ เช่น อุณหภูมิ ระดับทัศนคติ
Subtopic
เรียงอันดับ (Ordinal Scale)
เป็นข้อมูลที่ใช้จัดอันดับของสิ่งต่างๆ โดย เรียงอันดับของข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ จากสูงสุดไปหำต่ำสุด
นามบัญญัติ (Nominal Scale)
เป็นระดับการวัดที่หยาบที่สุด จัดข้อมูล หรือตัวแปรออกเป็นกลุ่ม เช่น เพศอาชีพ เป็นต้น ใช้สถิติง่ายๆในการคำนวณ คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ

หลักการเบื้องต้นที่สำคัญของการใช้สถิต

- หลีกเลี่ยงกานเสนอซ้ำซาก - เสนอในรูปแบบมำตรฐำนของแต่ละวิธีกำรหรือ ที่วงวิชำกำรยอมรับ - แปลผลค่ำสถิติต่ำงๆ ได้ถูกต้อง - ตีควำมหมำย

ข้อพิจารณาการใช้สถิติเพื่อการวิจัย

รู้การนำเสนอ การอ่าน และการตีความหมายผล
รู้หลักการเบื้องต้นของการใช้สถิติ
สามารถกำหนดสถานภาพของตัวแปรที่ศึกษาได้ว่าเป็นตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรตาม
รู้ลักษณะของข้อมูลว่ามีการวัดระดับใด
ทราบประเภทของสถิติที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์
ทราบวัตถุประสงค์ของการนำวิธีการสถิติมาใช้

วัตถุประสงค์โดยทั่วไปของการใช้สถิติเพื่อการวิจัย

4. ศึกษาการประมาณค่า หรือการพยากรณ์
3. ศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปร
2. ศึกษาความแตกต่างระหว่างกลุ่มต่างๆ ที่เป็น เป้าหมายของการศึกษา
1. พรรณนาคุณสมบัติของหน่วยศึกษา/วิเคราะห์

ประเภทของสถิต

Inferential Statistics
วิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อ นำไปสู่การลงนัยสรุปไปยังประชากร - สถิติพารามิเตอร์ (Parametric Statistics) - สถิตไร้พารามิเตอร์ (Nonparametric Statistics)
Descriptive Statistics
เกี่ยวข้องกับการทำตาราง การพรรณนา การอธิบายข้อมูลสถิติที่ใช้ เช่น ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าพิสัย ฯลฯ