类别 全部 - การประเมิน - การกระจาย - การเข้าถึง - ความรู้

作者:suphawan Mahorasop 5 年以前

315

สังคมความรู้ (Knowiedge Society)

สังคมความรู้ในยุคปัจจุบันแบ่งออกเป็นสองยุคหลัก ๆ โดยยุคแรกมีความสำคัญในเรื่องของการผลิตและการแข่งขันในตลาด บุคคลในยุคนี้ต้องมีความสามารถในการเข้าถึง ความรู้ ประเมินความถูกต้องของความรู้ การตีค่าความรู้ การปรับใช้ความรู้ให้เหมาะสม และการกระจายความรู้ สื่อสารผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ตหรือเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้ที่ถูกต้องและมีคุณค่าเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยสร้างพลังให้กับบุคคล ในยุคที่สอง สังคมความรู้มุ่งเน้นไปที่ความพอเพียง สมดุล และการบูรณาการ ประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาทสำคัญในการร่วมมือกันเป็นเจ้าของและผู้ใช้ความรู้ เพื่อสร้างพลังที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ความรู้นั้นไม่ใช่เพียงแค่เครื่องมือ แต่ยังเป็นพลังที่สามารถผลักดันให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนและเป็นธรรมในสังคม

สังคมความรู้
(Knowiedge Society)

สังคมความรู้ (Knowiedge Society)

4. ความรู้ (Knowledge)

4.2 ความหมายของความรู้(Definition of Knowledge) Davenport and Prusak กล่าวว่า ความรู้ หมายถึง ส่วนผสมที่เกิดจาก ประสบการณ์การทำงาน และประสบการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ที่พร้อมจะถูกนำไปใช้เพื่อการตัดสินใจและ การกระทำต่างๆ Haraldsson
4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้” ข้อมูลสารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออก จากกันได้ซึ่งคำทั้ง3คำ

5. กระบวนการจัดการความรู้ (Processes of Knowledge)

กระบวนการที่ช่วยให้เกิดการพัฒนาการของความรู้ หรือการจัดการกับความรู้ที่จะเกิดขึ้น ภายในองค์กรซึ่งมีดังนี้

1.การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะท าอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย โดยจะคัดเลือก ว่าจะใช้เครื่องมืออะไร และขณะนี้เรามีความรู้อะไรบ้าง อยู่ในรูปแบบใด อยู่ที่ใคร โดยอาจจะ พิจารณาว่าองค์กรมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมายคืออะไร

2.การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถท าได้หลายทาง เช่น การสร้างความรู้ใหม่ แสวงหาความรู้จากภายนอก รักษาความรู้เก่า ก าจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว

3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมส าหรับการเก็บ ความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อการเรียกใช้งานได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องในอนาคต

4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้ เช่น การปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ใช้ ภาษาเดียวกัน และปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์และเหมาะสม

5.การเข้าถึงความรู้ เป็นการท าให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก โดย การใช้พวกระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ(IT) หรือการประชาสัมพันธ์บน Web board 1Knowledge Society 8

6.การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ท าได้หลายวิธีการซึ่งจะแบ่งได้ สองกรณีได้แก่ Explicit Knowledge อาจจะจัดท าเป็นเอกสาร ฐานความรู้ และเทคโนโลยี สารสนเทศต่างๆ หรือ Tacit Knowledge จัดท าเป็นระบบ ทีมข้ามสายงาน กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ และนวัตกรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ระบบพี่เลี้ยง การสับเปลี่ยนงาน การยืมตัว และเวทีการ แลกเปลี่ยนความรู้ เป็นต้น

7.การเรียนรู้ ควรท าให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่น การเรียนรู้จากสร้างองค์ความรู้ การน าความรู้ไปใช้ให้เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ๆ และน าความรู้ที่ได้ไปหมุนเวียนต่อไป อย่างต่อเนื่อง

บทสรุป ความรู้นับว่าเป็นสิ่งที่จำเป็นในสังคมความรู้ ผู้ที่มีความสามารถในการจัดการความรู้ได้ดีจะ ช่วยให้สามารถพัฒนาศักยภาพตนเอง ช่วยเหลือผู้อื่นในสังคมหรือองค์กรการเรียนรู้ได้ดี การสะสม ความรู้ถ่ายโอนความรู้สร้างสรรค์ความรู้ใหม่ และการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคมจะช่วยสร้าง และพัฒนาบุคคลหรือองค์กรให้มีความรู้ ความสามารถ รวมถึงทักษะต่างๆ ในการดำรงชีพในสังคม ความรู้ในศตวรรษที่ 21

3.ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

3.1 ไม่จ ากัดขนาดและสถานที่ตั้ง 3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก 3.3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals) 3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ (Key Institutions) 3.5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน 3.6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้ 3.7มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง 3.8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา 3.9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้ 3.10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน 3.11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

2.ยุคของสังคมความรู้ (Knowledge Era)

2.2 สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุกภาคส่วน มีบทบาทในการร่วมกัน เป็นเจ้าของและเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง มีความเป็นอิสระ และพึ่งตนเอง *ลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ยุคที่2

ลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ยุคที่ 2 คือ

1) มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

2) มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม

3) มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

4) มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม 

2.1 สังคมความรู้ยุคที่ 1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู้ด้วยกัน เกิดการผลิต มีความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาดและความอยู่รอด *ซึ่งมีบุคคลเหล่านี้จะมีความสามารถ5ด้านดังนี้

1) Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ ได้แก่ การเข้าถึงความรู้ ทาง Internet หรือ ICT Connectivity ต่าง ๆ ต้องประกอบไปด้วยความสามารถในการเข้าถึงความรู้ ความใฝ่รู้ เวลาในการหาความรู้ และการท าความรู้ให้ใช้ได้ง่าย

2) Knowledge Validation คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้ ความรู้มีทั้งของ จริงและของหลอก ดังนั้น จึงต้องมีการประเมินความถูกต้องของความรู้ ซึ่งการวิจัยนับว่าเป็น เครื่องมือส าคัญที่จะบอกว่าความรู้นั้นถูกต้องหรือไม่

3) Knowledge Valuation คือ การตีค่า การตีความรู้ ว่าเมื่อมีการใช้ความรู้นั้นแล้วมี ความคุ้มค่าหรือไม่ ซึ่งในการตีค่าความรู้ที่มีหลักฐานถูกต้องตามหลักวิชาการแต่ไม่เหมาะสมที่จะ น ามาใช้โดยส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจาก 1)ความ ไม่คุ้มค่า หรือราคาแพงเกินกว่าผลประโยชน์ 2) ใช้ ส าหรับสิ่งที่ไม่จ าเป็น หรือฟุ่มเฟือย 3)ปฏิบัติจริงได้ยาก ขาดสิ่งจ าเป็น 4)ขัดกับความคิด ความเชื่อ หรือวัฒนธรรม และ 5)ไม่สร้างความยุติธรรม และศักดิ์ศรีมนุษย์

4) Knowledge Optimization คือ การท าความรู้ให้ง่ายที่จะใช้ การน าความรู้ออกมา เป็นกฎเกณฑ์ ระเบียบต่าง ๆ ต้องมีพื้นฐานมาจากความรู้ เช่น การท าคู่มือต่าง ๆ

5) Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้ ปัจจุบันความรู้เป็นสมบัติ สาธารณะที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ อยู่ที่ความสามารถของแต่ละคนที่จะเข้าถึงความรู้การวิจัยหรือ ความรู้จึงเป็นเครื่องมือส าคัญในการสร้างพลังที่น าไปสู่ Empowerment ซึ่งความรู้ไม่ได้มีไว้ใช้เพียง อย่างเดียว แต่ความรู้น ามาสร้างเป็นพลังได้ 

1.นิยามความหมายของสังคมความรู้ (Definition of Knowlrdge Society)

หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มี บุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง