Products
Mind Mapping Software
Outlining Software
甘特图软件
Uses
Mind Maps for Education
企业思维导图
用于个人发展的思维导图
思维导图的好处
資源
特点
教育
个人和工作
台式电脑
Video Tutorials
Watch tips and tricks about using Mindomo.
Help Center
Detailed help guide on configuring and using Mindomo.
文章
Top 29 Mind Map Examples
Gantt Chart Software
Concept Map Template
Free mind map software
What is a concept map?
Gantt Chart Maker
Mind Map App
Concept Map Maker
Mind map template
定价
登入
注册
Products
Mind Mapping Software
Outlining Software
甘特图软件
Uses
Mind Maps for Education
企业思维导图
用于个人发展的思维导图
思维导图的好处
資源
部落格
Video Tutorials
Help Center
甚麼是思維導圖?
在线创建思维导图
概念图制作者
文章
Top 29 Mind Map Examples
Gantt Chart Software
Concept Map Template
Free mind map software
What is a concept map?
Gantt Chart Maker
Mind Map App
Concept Map Maker
Mind map template
特点
教育
个人和工作
台式电脑
定价
注册
登入
类别
全部
-
องค์กร
-
สารสนเทศ
-
ประสบการณ์
-
ความรู้
作者:
อธิการ เห็นพร้อม
5 年以前
203
สังคมความรู้ (KnowleSociety)
การจัดการความรู้เป็นกระบวนการสำคัญที่ช่วยให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประเภทของความรู้สามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทหลักคือ ความรู้ที่เด่นชัดและความรู้ที่ซ่อนเร้น ความรู้ที่เด่นชัดเป็นความรู้ที่สามารถรวบรวมและถ่ายทอดได้โดยผ่านวิธีการต่างๆ ส่วนความรู้ที่ซ่อนเร้นเป็นความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคลและได้จากประสบการณ์ ความรู้มีความหมายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลและสารสนเทศซึ่งบางครั้งไม่สามารถแยกออกจากกันได้ กระบวนการจัดการความรู้เริ่มต้นจากการบ่งชี้ความรู้ที่มีอยู่และความรู้ที่จำเป็นในการบรรลุเป้าหมายขององค์กร จากนั้นต้องมีการจัดความรู้ให้เป็นระบบโดยการวางโครงสร้างและเตรียมพร้อมสำหรับการเก็บความรู้อย่างเป็นระบบ ข้อมูลที่มีคุณค่าและสารสนเทศช่วยให้กระบวนการจัดการความรู้สามารถนำไปใช้ในการตัดสินใจและการกระทำต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
開啟
更多类似内容
สถิติพื้นฐานและการเก็บรววบรวมข้อมูล
由s n
แหล่งสารสนเทศ
由Thapanat Wongngamwan
3.ความเครียด(stress)
由05 มายด์ NSTRU
61102653
由Nuttakul Pimsarn
สังคมความรู้ (KnowleSociety)
2. ยุคของสังคมความรู้(Knowledge Society Era) สังคมความรู้แบ่งเป็น 2 ยุค
2.2 สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุก ภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ และเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง มีความเป็นอิสระ และ พึ่งตนเอง นักวิชาการ นักวิชาชีพมีบทบาทเป็น Knowledge Broker ทำให้เกิดเป็นวิจัยแบบบูรณา
1Knowledge Society 3 การที่ผลงานวิจัยย่อย ๆ หลาย ๆงานวิจัยรวมตัวกันเพื่อแก้ปัญหาวิจัยย่อยและปัญหาใหญ่แบบครบ วงจรวัฎจักรของความรู้ในสังคม ลักษณะส าคัญของสังคมความรู้ยุคที่ 2 คือ 1) มีการสะสมความรู้ภายในสังคม 2) มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม 3) มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม 4) มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม
2.1 สังคมความรู้ยุคที่ 1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอ านาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มี ความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด มีความเป็นมืออาชีพการจัดการความรู้ หรือการ พัฒนาความรู้ (Knowledge Management) เป็นอย่างมากึ่งบุคคลเหล่านี้จะมีความสามารถ 5 ด้านดังนี้
1. นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้(Definition of Knowledge Society)
สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จาก ความรู้ที่มีบุคลากรท างานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง อีกความหมายหนึ่งได้อธิบายถึงสังความรู้ว่าเป็นกระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนุนส่งเสริมให้ บุคคลหรือสมาชิกในชุมชนหรือสังคมเกิดการเรียนรู้โดยผ่านสื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ แหล่งการ เรียนรู้ องค์ความรู้ต่าง ๆ จนสามารถสร้างความรู้ สร้างทักษะ มีระบบการจัดการความรู้และระบบ การเรียนรู้ที่ดี มีการถ่ายทอดความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันทุกภาคส่วนในสังคม ท าให้เกิดพลัง 1Knowledge Society 2 สร้างสรรค์ และใช้ความรู้เป็นเครื่องมือในการเลือกและตัดสินใจเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาอย่าง เหมาะสมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
3. ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้
3.11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
3.10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
3.9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
3.8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
3.7มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง
3.6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
3.5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ด าเนินการ (Key Institutions)
3.3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)
3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
3.1 ไม่จ ากัดขนาดและสถานที่ตั้ง
5. กระบวนการจัดการความรู้(Processes of Knowledge)
5.การเข้าถึงความรู้ เป็นการท าให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก โดย การใช้พวกระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ(IT) หรือการประชาสัมพันธ์บน Web board
4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้ เช่น การปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ใช้ ภาษาเดียวกัน และปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์และเหมาะสม
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมส าหรับการเก็บ ความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อการเรียกใช้งานได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องในอนาคต
2.การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถท าได้หลายทาง เช่น การสร้างความรู้ใหม่ แสวงหาความรู้จากภายนอก รักษาความรู้เก่า ก าจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว
1.การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะท าอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย โดยจะคัดเลือก ว่าจะใช้เครื่องมืออะไร และขณะนี้เรามีความรู้อะไรบ้าง อยู่ในรูปแบบใด อยู่ที่ใคร โดยอาจจะ พิจารณาว่าองค์กรมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมายคืออะไร
4. ความรู้ (Knowledge)
ประเภทรูปแบบความรู้(Type of Knowledge) ประเภทของความรู้มีหลายลักษณะทั้งความรู้จากข้อเท็จจริง ความรู้จากประสบการณ์ ความรู้ที่ได้รับถ่ายทอดมาหรือความเชื่อ ความรู้ส่วนบุคคล (Individual knowledge) และความรู้ องค์กร (Organizational knowledge) จากลักษณะต่างๆ ดังกล่าวสามารถแบ่งความรู้ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่topic
Subtopic
2) Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถ รวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ
1) Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น เป็น ความรู้ที่ได้จากประสบการณ
4.2 ความหมายของความรู้(Definition of Knowledge) Davenport and Prusak (1998 : 5) กล่าวว่า ความรู้ หมายถึง ส่วนผสมที่เกิดจาก ประสบการณ์การท างาน และประสบการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ที่พร้อมจะถูกน าไปใช้เพื่อการตัดสินใจและ การกระท าต่างๆ
4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้” ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออก จากกันได้ ซึ่งค าทั้ง 3 ค ามีนักวิชาการหลายๆ ท่านได้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ไว้ดังนี
สารสนเทศ มาจากภาษาอังกฤษค าว่า “Information” ซึ่งมีผู้ได้ให้นิยามไว้ต่างๆ ดังนี้ สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ (2553) กล่าวว่า สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่มีคุณค่าและ คุณประโยชน์ ทั้งในเชิงจ านวนและคุณภาพ เช่น ข้อมูลความเป็นจริงในการปฏิบัติงาน เป็นต้น
4.1.1 ความหมายของข้อมูล (Data)