类别 全部 - ภาษี

作者:Kie Khajipun 5 年以前

619

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (Personal Income Tax)

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป็นหัวข้อที่สำคัญในการจัดการการเงินส่วนบุคคลในประเทศไทย มีหลายรายการที่ได้รับการยกเว้นภาษี เช่น ดอกเบี้ยจากการฝากเงินในบางประเภท เบี้ยประชุม ค่าพาหนะ และรางวัลเพื่อการศึกษา นอกจากนี้ยังมีการยกเว้นภาษีสำหรับการขายสังหาริมทรัพย์ที่เป็นมรดกและเงินได้จากการอุปการะ ค่าใช้จ่ายบางรายการสามารถหักลดหย่อนได้ เช่น เบี้ยประกันสุขภาพ ค่าซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมสำรองเลี้ยงชีพ การเลี้ยงดูบุตร และการอุปการะคนพิการหรือคนทุพพลภาพ เงินสะสมที่จ่ายเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพและเงินสมทบกองทุนประกันสังคมก็สามารถหักลดหย่อนได้ ส่วนเงินบริจาคสามารถหักได้สองเท่าของที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินคงเหลือหลังจากหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน ทั้งนี้ยังรวมถึงเบี้ยประกันชีวิตที่สามารถหักได้ตามจ่ายจริงในวงเงินที่กำหนด การจัดการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอย่างเหมาะสมสามารถช่วยลดภาระภาษีและเพิ่มผลประโยชน์ทางการเงินได้

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
(Personal Income Tax)

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (Personal Income Tax)

อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

จํานวนภาษี(บาท)
0

7,500

20,000

37,500

50,000

900,000

อัตราภาษี(%)
ยกเว้น

5%

10%

15%

20%

25%

30%

35%

จํานวนเงินได้สุทธิ ในแต่ละช่วง(บาท)
150,000

200,000

250,000

1,000,000

3,000,000

5,000,00ขึ ้นไป

ผู้มีหน้าที่เสียภาษี

5. วิสาหกิจชุมชน ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน เฉพาะที่เป็นห้างหุ้นสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล
4. ห้างหุ้นส่วนสามัญ หมายถึง การที่บุคคลธรรมดาตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ตกลงเข้าทุนกัน ไม่ว่าจะเป็นเงิน แรงงาน หรือทรัพย์สิน เพื่อกระทํากิจการร่วมกันซึ่งไม่ต้องห้ามตามกฎหมาย โดยมีวัตถุประสงค์ในการที่จะแบ่งปันผลกําไร
3. กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง หมายถึง ทรัพย์สินของผู้ตายในปีถัดจากปีที่ถึงแก่ความตาย แต่ยังไม่ได้แบ่งให้ทายาท
2. ผู้ถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี หมายถึง บุคคลธรรมดาที่มีเงินได้ถึงเกณฑ์ขั้นตํ่าต้องเสียภาษีแต่ถึงแก่ความตายก่อนยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีหรือในระหว่างปีภาษี คือ ระหว่างวันที่ 1 มกราคม- 31 ธันวาคม
1. บุคคลธรรมดา หมายถึง บุคคลโดยทั่วไปที่มีชีวิต โดยสภาพบุคคลย่อมเริ่มตั้งแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก และสิ ้นสุดลงเมื่อถึงแก่ความตาย

เงินได้พึงประเมิน

หมายถึง เงินได้อันมีลักษณะพึงต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามมาตรา 39
5. เครดิตภาษีตามที่กฎหมายกําหนด

เครดิตภาษีเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งกําไรที่ได้รับจากบริษัท

4. เงินค่าภาษีอากรที่ผู้จ่ายเงินหรือผู้อื่นออกแทนให้
3. ประโยชน์ซึ่งอาจคิดคํานวณได้เป็นเงิน

นายจ้างให้ลูกจ้างอยู่บ้านพักโดยไม่เสียค่าเช่า

2. ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคํานวณได้เป็นเงิน

คนงานได้รับค่าแรงเป็นโทรทัศน์

ซื้อหุ้นได้ผลตอบแทนเป็นหุ้น

1. เงิน

เงินได้ที่ได้รับการยกเว้นภาษี

อื่นๆ
รางวัลเพื่อการศึกษาหรือค้นคว้าในวิทยาการ
เงินได้ที่ได้รับจากการอุปการะโดยหน้าธรรมจรรยา เงินสินสอด
การขายสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดก
ดอกเบี้ย
ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ ยกเว้น20,000
ดอกเบี้ยเงินฝากประเภทออมทรัพย์ที่ได้รับจากสหกรณ์
ดอกเบี้ยสลากออมสินประเภทฝากเผื่อเรียก
เบี้ยประชุมกรรมาธิการหรือกรรมการ
ค่าพาหนะและเบี้ยเลี้ยงเดินทาง
ค่าเบี้ยเลี้ยง หรือ ค่าพาหนะ

ค่าลดหย่อน

15. เงินบริจาค
15.2) เงินบริจาคหักได้ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินคงเหลือหลังจาก หักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนอื่น ๆ

วัด อาราม โบสถ์ มัสยิด

15.1 เงินบริจาค หักได้ 2 เท่าของที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินคงเหลือหลังจาก หักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน

โรงเร๊ยน โรงพยาบาล

14. เงินสะสมกองทุนการออมแห่งชาติ ตามจํานวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 500,000 บาท
13. เงินสมทบกองทุนประกันสังคมตามจํานวนที่จ่ายจริงไม่เกิน 9,000 บาท
12. ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อที่อย่อาศัยตามจํานวนเงินที่ได้จ่ายไปจริงแต่ไม่ เกิน 100,000 บาท
10. ค่าซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมสํารองเลี้ยงชีพ(RMF) หักได้ไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินได้พึงประเมินที่ได้รับซึ่งต้องเสียภาษีเงินได้ในปีภาษีนั้น ต้องไม่เกิน 500,000 บาท
9. เงินสะสมจ่ายเข้ากองทุนสํารองเลี้ยงชีพ หักได้ตามจ่ายจริง แต่ไม่เกิน 10,000 บาท
เงินที่จ่ายสะสมเข้ากองทุนนี ้ต้องไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 3 แต่ไม่เกินร้อยละ 15 ของค่าจ้าง
8. เบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดาของผู้มีเงินได้และคู๋สมรสได้ตามจํานวนที่ จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 15,000 บาท
7. เบี้ยประกันสุขภาพของผู้มีเงินได้ หักลดหย่อนได้ตามจ่ายจริง แต่ไม่เกิน 15,000 บาท
6. เบี้ยประกันชีวิตหักได้ตามจ่ายจริง แต่ไม่เกิน 10,000 บาท
เบี้ยประกันชีวิตแบบบํานาญ ร้อยละ 15 ของ เงินได้ที่นํามาเสียภาษีเงินได้ในแต่ละปี แต่ไม่เกิน 200,000 บาท
ส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 90,000 บาท ยกเว้นเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย
5. อุปการะเลี้ยงดูคนพิการหรือคนทุพพลภาพ คนละ 60,000 บาท
4. บิดามารดาของผู้มีเงินได้ หรือ คู่สมรส คนละ 30,000 บาท
บิดามารดาที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปเงินได้พึงประเมินในปีภาษีเกิน 30,000
3. บุตร คนละ 30,000 บาท
2. คู่สมรสของผู้มีเงินได้ 60,000 บาท
1. ผู้มีเงินได้ 60,000 บาท

ประเภทเงินได้พึงประเมินและการหักค่าใช้จ่าย

เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 8 (มาตรา 40(8))

หักตามอัตราเหมาในอัตราร้อยละตามที่กฎหมายกําหนด

เงินได้จากการธุรกิจ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง การขายอสังหาริมทรัพย์ หรือการอื่น
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 7 (มาตรา 40(7))

เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง

หักตามอัตราเหมาในอัตราร้อยละ 60

หักตามความจําเป็นและสมควร

เงินได้จากการรับเหมาที่ผู้รับเหมาต้อง ลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระ
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 6 (มาตรา 40(6))

เงินได้จากวิชาชีพอิสระอื่อ

ร้อยละ 30

การประกอบโรคศิลป

ร้อยละ 60

เงินได้จากวิชาชีพอิสระ คือ วิชากฎหมายการประกอบโรคศิลป วิศวกรรม สถาปัตยกรรม การบัญชี ประณีตศิลปกรรม
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 5 (มาตรา 40(5))

ทรัพย์สินอย่างอื่น

ร้อยละ 10

ที่ดินที่มิได้ใช้ในการเกษตรกรรม ที่ดินที่มิได้ใช้ในการเกษตรกรรม

ร้อยละ 15

ที่ดินที่ใช้ในการเกษตรกรรม

ร้อยละ 20

บ้าน โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น หรือแพ ยานพาหนะ

ร้อยละ30

เงินได้จากการให้เช่าทรัพย์สิน การผิดสัญญาเช่าซื้อทรัพย์สินการผิดสัญญาซื้อขายเงินผ่อน ซึ่งผู้ขายได้รับคืนทรัพย์สินที่ซื้อขายนั้น โดยไม่ต้องคืนเงินหรือประโยชน์ที่ได้รับไว้แล้ว
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 4 (มาตรา 40(4))

ไม่ยอมให้หักค่าใช้จ่ายใด

40(4)(ข) เงินปันผล เงินส่วนแบ่งของกําไร หรือประโยชน์อื่นใดที่ได้จากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล กองทุนรวม
40(4)(ก) ดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบี้ยเงินฝาก ดอกเบี้ยหุ้นกู้ ดอกเบี้ยตั๋วเงิน ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 3(มาตรา 40(3))

ร้อยละ 50 ของค่าแห่งลิขสิทธิ์แต่รวมกันไม่เกิน 100,000 บาท

ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิทธิ์ เงินรายปีอันได้มาจากพินัยกรรม นิติกรรมอย่างอื่น
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 2 (มาตรา 40(2))
เงินได้เนื่องจากหน้าที่หรือตําแหน่งงาน ที่ทํา หรือจากการรับทํางานให้ค่าธรรมเนียม ค่านายหน้า ค่าส่วนลด
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1 (มาตรา 40(1))
การหักค่าใช้จ่าย

ร้อยละ 50 ของเงินได้ แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 100,000 บาท

เงินเดือน ค่าจ้าง เบี้ยเลี้ยง โบนัส เบี้ยหวัด บําเหน็จ บํานาญ