类别 全部 - ความรู้ - การจัดการ - สังคม - ข้อมูล

作者:GGuitar Waraporn 6 年以前

115

khowledge society

สังคมความรู้ในยุคที่สองเน้นการใช้ความรู้ในสังคมอย่างเพียงพอ มีการประยุกต์ใช้และถ่ายโอนความรู้ รวมทั้งการสร้างสรรค์และสะสมความรู้ใหม่ๆ ภายในสังคม นิยามของสังคมเช่นนี้คือสังคมที่สามารถเข้าถึงเครือข่ายสาระสนเทศได้ดี กระบวนการจัดการความรู้ประกอบด้วยการสร้างและแสวงหาความรู้ การเรียนรู้และการเข้าถึงความรู้ ตลอดจนการจัดการความรู้ให้เป็นระบบและการประมวลผล ข้อมูลที่ถูกวิเคราะห์และตีความแล้วจะกลายเป็นสารสนเทศ ซึ่งเป็นการถ่ายทอดความรู้ที่มีคุณค่า ความรู้สามารถแบ่งเป็นสองประเภทหลักคือความรู้ที่เด่นชัดและความรู้ที่ซ่อนเร้น ความหมายของความรู้รวมถึงการเพิ่มขีดความสามารถและการไหลเวียนของความรู้สึก นอกจากนี้ความรู้ยังสามารถเป็นข้อเท็จจริงของเหตุการณ์หรือสิ่งที่ได้มาจากการศึกษา ข้อมูลในรูปแบบต่างๆ เช่น สัญลักษณ์หรือข้อมูลดิบสามารถแปรความเป็นสารสนเทศได้เมื่อผ่านการวิเคราะห์และตีความ

khowledge society

khowledge society

กระบวนการจัดดการความรู้

การเรียนรู้
การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความร
การเข้าถึงความรู้
การประมวลและกลั่นกรองความรู้
การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
การสร้างและแสวงหาความรู้
การบ่งชี้ความรู้

นิยาม

สังคมที่มีการเข้าถึงประโยชน์จรากเครือข่ายสาระสนเทศ

ความรู้

ความหมายของสารสนเทศ
การถ่ายทอดความรู้ของมนุษย์เพื่อการสื่อสารไป ยังบุคคลอื่น
แก่นหรือเนื้อหาที่สำคัญ
ข้อมูลที่ถูกมนุษย์วิเคราะห์และตีความแล้ว
ข้อมูลที่มีคุณค่า
ความหมายของข้อมูล
บันทึกที่แสดงความเป็นไปหรือเป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์หนึ่งๆ
ข้อมูลเชิงบรรยาย
ข้อมูลดิบ
สัญลักษณ์ที่ยังไม่ได้แปรความ
ความหมายของความรู้
ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องโดยตรงระหว่างความเข้าใจ
สิ่งที่พิสูจน์ให้เห็นว่าเป็นการเพิ่มขีดความสามารถ
คือกระบวนการขัดเกลา
ข้อเท็จจริงของเหตุการณ์
สิ่งที่ได้มาโดยการศึกษา
การไหลเวียนของความรู้สึก
ส่วนผสมที่เกิดจาก ประสบการณ์การทำงาน
ประเภทรูปแบบความรู้
Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว
Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น

แบ่งเป็น4 ประเภท

ความรู้ใหม่ คือ ความรู้ที่ไม่เคยมีมาก่อน

ความรู้ด้านวิชาการ

ความรู้ด้านภาษา

ความรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัวเรา

ยุค

ยุคที่2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง
ลักษณะสำคัญ

มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม

มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม

มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

ยุคที่1 มีพลังอำนาจอยู่ด้วยกัน
Knowledge Dissemination
Knowledge Optimization
Knowledge Valuation
Knowledge Validation
Knowledge Access