Statistics Calculation
ค่าฐานนิยม
สามารถใช้ได้กับข้อมูลที่เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ ( Qualitative) และข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative)
เป็นค่ากลางหรือตัวแทนของข้อมูลที่สามารถ อธิบายลักษณะที่เกิดขึ้นได้ดีกว่า ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และค่ามัธยฐาน
เป็นค่ากลางซึ่งนำมาใช้ในกรณี ที่ข้อมูลมีการซ้ำกันมากๆ จนผิดปกติ
การวัดการกระจายของข้อมูลสัมบูรณ์
เป็นค่าวัดการกระจายที่สำคัญทางสถิติ เพราะ เป็นค่าที่ใช้บอกถึง
การกระจายของข้อมูลได้ดีกว่าค่าพิสัย และ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน(SD) ในกรณีข้อมูลไม่มีการแจกแจงความถี่
ข้อเสียของพิสัย
2. ค่าของพิสัยจะขึ้นอยู่กับขนาดของข้อมูลถ้าข้อมูลมีจำนวนมากพิสัยจะมากถ้าข้อมูลมีจำนวนน้อยพิสัยจะน้อย
1.ในกรณีที่ใช้พิสัยกับข้อมูลที่มีจำนวนมาก การวัดจะไม่แน่นอน
การหาการกระจายของข้อมูลโดยนำข้อมูลที่สูงที่สุดลบกับข้อมูลที่มีค่าต่ำที่สุดเพื่อให้ได้ค่าที่เป็นช่วงของการกระจายซึ่งสามารถบอกถึงความกว้างของข้อมูลชุดนั้นๆ สำหรับสูตรที่ใช้ในการหาพิสัย คือ
การวัดการกระจายของข้อมูลเดียว เพื่อศึกษา ว่าข้อมูลแต่ละค่ามีความแตกต่างกันมากน้อยเพียงใดการวัดการกระจายสัมบูรณ์มี 4 วิธี
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์
สถิติพื้นฐาน
การวัดการกระจาย
ความแปรปรวน
ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน
พิสัย
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
ฐานนิยม
มัธยฐาน
ค่าเฉลี่ย
การแจกแจงความถี่
แสดงความหมายของข้อมูลและใช้เป็นพื้นฐานในการคำนวณสถิติชั้นสูง
ค่ามัธยฐาน
ขั้นตอนการหาค่ามัธยฐานมี 2 ขั้นตอน
2. ทำการหาตำแหน่งกึ่งกลางที่ได้จากขั้นตอนที่ 1
1. เรียงลำดับข้อมูลจากมากไปน้อย หรือจากน้อยไปมาก
เป็นค่ากลางของข้อมูลที่ได้จากการ พิจารณาตำแหน่งของข้อมูลที่อยู่ตรงกลาง
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
เป็นค่ากลางทางสถิติค่าหนึ่ง ที่นิยมใช้ในการวิเคราะห์สถิติ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็นค่ากลางหรือเป็นตัวแทน ของข้อมูลที่ดีที่สุด เพราะ
4. เป็นค่าที่มีประสิทธิภาพสูงสุด
3. เป็นค่าที่มีความแปรปรวนต่ำที่สุด
2. เป็นค่าที่มีความคงเส้นคงวา
1. เป็นค่าที่ไม่เอนเอียง
สถิติสำหรับการทดสอบสมมุติฐาน
การพยากรณ์
ใช้สำหรับวิเคราะห์เพื่อทดสอบสมมุติฐานว่าเป็นจริงตามที่กำหนดหรือไหม
การทดสอบความแตกต่างระหว่าง