Kategóriák: Minden

a Mook Potjamarn 5 éve

272

ค่าสถิติในงานวิจัย

In the realm of statistical research, various methods are employed to test hypotheses and analyze data. One common approach involves the use of t-tests, F-tests, and chi-square tests to identify differences between groups.

ค่าสถิติในงานวิจัย

ค่าสถิติในงานวิจัย

สถิติสำหรับการทดสอบสมมติฐาน

การพยากรณ์
การหาความสัมพันะ์ระหว่างข้อมูล2ชุดขึ้นได้
สหสัมพันธ์
การหาสัมประสิทธิ์
การทดสอบความเเตกต่างระหว่างกลุ่ม
เเควร์ (chi-square)
F-test
t-test
ใช้สำหรับการวิเคราห์เพื่อทดสอบสมมติฐานว่าจริงตามกำหนด

การวัดการกระจายของข้อมูล

การวัดการกระจายสัมบูรณ์
มี 4 วิธี

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

ใช้บอกถึงการกระจายของข้อมูลได้ดีกว่าพิสัยเเละส่วนเบี่ยงเฉลี่ย

ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (Mean Deviation)

ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ (Quartile Deviation)

พิสัย (Range)

Subtopic

ค่าพิสัยขึ้นอยู่กับขนาดข้อมูล

ใช้กับข้อมูลที่มีจำนวนมากจะวัดได้ไม่เเน่นอน

การวัดค่ากลาง

ค่ากึ่งกลางพิสัย

ข้อมูลเเจกเเจงความถี่

ขอบล่างของอัตรภาดที่มากสุดบวกน้อยสุดหาร2

ข้อมูลไม่เเจกเเจงความถี่

ข้อมูลที่มีค่ามากที่สุดบวกค่าที่น้อยที่สุดหาร2

ตัวเเทนของข้อมูลทั้งหมดที่สามารถจะไปใช้ในการวิเคราห์

เพื่อให้ได้ค่าที่เป็นช่วงของกานกระจาย

สูตร พิสัย (Range)= Maximun – Minimun

เพื่อศึกษาความเเตกต่างของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้แมูลชุดเดียว

สถิติพื้นฐาน

ได้เเก่
การวัดเเนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง

ฐานนิยม (Mode)

มีได้มากกว่า 1 ค่า

เป็นค่ากลางที่สามารถอธิบายลักษณะที่เกิดขึ้นได้ดีกว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิตเเละมัธยฐาน

ค่ากลางที่นำมาใช้กรณีที่ข้อมูลมีการซำ้กันมากๆจนผิดปกติ

มัธยฐาน (Median)

ขั้นตอน

หาตำเเหน่งกึ่งกลาง

เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก

ค่ากลางข้อมูลที่ได้จากการพิจารณาตำเเหน่งของข้อมูลที่อยู่ตรงกลาง

ค่าเฉลี่ย (mean)

ข้อมูลทั้งหมดบวกกันหารจำนวนข้อมูลทั้งหมด

เป็นตัวเเทนของข้อมูลที่ดีที่สุด

มีประสิทธิภาพสูงสุด

มีความเเปรปรวนต่ำที่สุด

มีความคงเส้นคงวา

ไม่เอนเอียง

ค่ากลางทางสถิติ

การเเจกเเจงความถี่
ใช้เป็นพื้นฐานในการคำนวณสถิติขั้นสูงต่อไป
สถิติวิเคราะห์เพื่อเเสดงความหมายทั่วไปของข้อมูล