カテゴリー 全て

によって Mook Potjamarn 5年前.

272

ค่าสถิติในงานวิจัย

In the realm of statistical research, various methods are employed to test hypotheses and analyze data. One common approach involves the use of t-tests, F-tests, and chi-square tests to identify differences between groups.

ค่าสถิติในงานวิจัย

ค่าสถิติในงานวิจัย

สถิติสำหรับการทดสอบสมมติฐาน

การพยากรณ์
การหาความสัมพันะ์ระหว่างข้อมูล2ชุดขึ้นได้
สหสัมพันธ์
การหาสัมประสิทธิ์
การทดสอบความเเตกต่างระหว่างกลุ่ม
เเควร์ (chi-square)
F-test
t-test
ใช้สำหรับการวิเคราห์เพื่อทดสอบสมมติฐานว่าจริงตามกำหนด

การวัดการกระจายของข้อมูล

การวัดการกระจายสัมบูรณ์
มี 4 วิธี

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

ใช้บอกถึงการกระจายของข้อมูลได้ดีกว่าพิสัยเเละส่วนเบี่ยงเฉลี่ย

ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (Mean Deviation)

ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ (Quartile Deviation)

พิสัย (Range)

Subtopic

ค่าพิสัยขึ้นอยู่กับขนาดข้อมูล

ใช้กับข้อมูลที่มีจำนวนมากจะวัดได้ไม่เเน่นอน

การวัดค่ากลาง

ค่ากึ่งกลางพิสัย

ข้อมูลเเจกเเจงความถี่

ขอบล่างของอัตรภาดที่มากสุดบวกน้อยสุดหาร2

ข้อมูลไม่เเจกเเจงความถี่

ข้อมูลที่มีค่ามากที่สุดบวกค่าที่น้อยที่สุดหาร2

ตัวเเทนของข้อมูลทั้งหมดที่สามารถจะไปใช้ในการวิเคราห์

เพื่อให้ได้ค่าที่เป็นช่วงของกานกระจาย

สูตร พิสัย (Range)= Maximun – Minimun

เพื่อศึกษาความเเตกต่างของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้แมูลชุดเดียว

สถิติพื้นฐาน

ได้เเก่
การวัดเเนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง

ฐานนิยม (Mode)

มีได้มากกว่า 1 ค่า

เป็นค่ากลางที่สามารถอธิบายลักษณะที่เกิดขึ้นได้ดีกว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิตเเละมัธยฐาน

ค่ากลางที่นำมาใช้กรณีที่ข้อมูลมีการซำ้กันมากๆจนผิดปกติ

มัธยฐาน (Median)

ขั้นตอน

หาตำเเหน่งกึ่งกลาง

เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก

ค่ากลางข้อมูลที่ได้จากการพิจารณาตำเเหน่งของข้อมูลที่อยู่ตรงกลาง

ค่าเฉลี่ย (mean)

ข้อมูลทั้งหมดบวกกันหารจำนวนข้อมูลทั้งหมด

เป็นตัวเเทนของข้อมูลที่ดีที่สุด

มีประสิทธิภาพสูงสุด

มีความเเปรปรวนต่ำที่สุด

มีความคงเส้นคงวา

ไม่เอนเอียง

ค่ากลางทางสถิติ

การเเจกเเจงความถี่
ใช้เป็นพื้นฐานในการคำนวณสถิติขั้นสูงต่อไป
สถิติวิเคราะห์เพื่อเเสดงความหมายทั่วไปของข้อมูล